ฟีเล (ยานอวกาศ)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟีเล
COSPAR ID2004-006C
ข้อมูลยานอวกาศ
มวลบรรทุก21 kg (46 lb)[1]
ขนาด1 × 1 × 0.8 m (3.3 × 3.3 × 2.6 ft)[1]
เริ่มต้นภารกิจ
วันที่ส่งขึ้น2 มีนาคม 2547, 07:17 UTC
ฐานส่งKourou ELA-3
ผู้ดำเนินงานArianespace
อุปกรณ์
APX Alpha: Alpha Particle X-ray Spectrometer
CIVA: Comet nucleus Infrared and Visible Analyser
CONSERT COmet Nucleus Sounding Experiment by Radiowave Transmission
COSAC: COmetary SAmpling and Composition
MUPUS: Multi-Purpose Sensors for Surface and Subsurface Science
PTOLEMY: gas chromatograph and medium resolution mass spectrometer
ROLIS: ROsetta Lander Imaging System
ROMAP: ROsetta lander MAgnetometer and Plasma monitor
SD2: Sample and Distribution Device
SESAME: Surface Electric Sounding and Acoustic Monitoring Experiment
 

ฟีเล หรือ ไฟลี (อังกฤษ: Philae) เป็นส่วนลงจอด (lander) หุ่นยนต์ขององค์การอวกาศยุโรปซึ่งไปกับยานอวกาศ โรเซตตา[3] จนลงจอดบนดาวหาง 67พี/ชูรีวมอฟ-เกราซีเมนโค ที่กำหนด หลังออกจากโลกไปแล้วกว่าสิบปี[4][5][6] เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2557 ส่วนลงจอดสามารถลงจอดควบคุม (controlled touchdown) บนนิวเคลียสดาวหางได้สำเร็จเป็นครั้งแรก[7] คาดว่าอุปกรณ์จะได้ภาพแรก ๆ จากผิวดาวหางและทำการวิเคราะห์ ณ ที่เดิมเพื่อหาองค์ประกอบของดาวหาง[8] ฟีเล ถูกเฝ้าติดตามและควบคุมจากศูนย์ปฏิบัติการอวกาศยุโรปที่ดาร์มชตัดท์ ประเทศเยอรมนี[9]

ส่วนลงจอดนี้ได้ชื่อตามเกาะไฟลีในแม่น้ำไนล์ซึ่งพบโอบิลิสก์ โดยโอบิลิสก์ดังกล่าวร่วมกับศิลาโรเซตตาถูกใช้ถอดอักษรไฮโรกลิฟอียิปต์

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 "PHILAE". National Space Science Data Center. สืบค้นเมื่อ 28 January 2014.
  2. "Philae lander fact sheet". DLR. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-12-25. สืบค้นเมื่อ 28 January 2014.
  3. Chang, Kenneth (5 August 2014). "Rosetta Spacecraft Set for Unprecedented Close Study of a Comet". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 5 August 2014.
  4. Ulamec, S.; Espinasse, S.; Feuerbacher, B.; Hilchenbach, M.; Moura, D.; และคณะ (April 2006). "Rosetta Lander—Philae: Implications of an alternative mission". Acta Astronautica. 58 (8): 435–441. Bibcode:2006AcAau..58..435U. doi:10.1016/j.actaastro.2005.12.009.
  5. Biele, Jens (2002). "The Experiments Onboard the ROSETTA Lander". Earth, Moon, and Planets. 90 (1–4): 445–458. Bibcode:2002EM&P...90..445B. doi:10.1023/A:1021523227314.
  6. Agle, D. C.; Cook, Jia-Rui; Brown, Dwayne; Bauer, Markus (17 January 2014). "Rosetta: To Chase a Comet". NASA. สืบค้นเมื่อ 18 January 2014.
  7. Chang, Kenneth (12 November 2014). "European Space Agency's Spacecraft Lands on Comet's Surface". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 12 November 2014.
  8. "Europe's Comet Chaser - Historic mission". European Space Agency. 16 January 2014. สืบค้นเมื่อ 5 August 2014.
  9. ESOC at ESA website, retrieved 13 November 2014