ฟุตบอลโลกหญิงอายุไม่เกิน 20 ปี 2004

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลโลกหญิงอายุไม่เกิน 20 ปี 2004
FIFA U-19 Women's World Championship Thailand 2004
ฟุตบอลหญิงชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 19 ปี
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพThailand
วันที่10 – 27 พฤศจิกายน
ทีม12 (จาก 5 สมาพันธ์)
สถานที่(ใน 3 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศธงชาติเยอรมนี เยอรมนี (สมัยที่ 1)
รองชนะเลิศธงชาติจีน จีน
อันดับที่ 3ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ
อันดับที่ 4ธงชาติบราซิล บราซิล
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน26
จำนวนประตู92 (3.54 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม288,324 (11,089 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดแคนาดา Brittany Timko
(7 goals)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมบราซิล Marta
2002
2006

การแข่งขันฟุตบอลโลกหญิงอายุไม่เกิน 20 ปี 2004 เริ่มทำการแข่งขันตั้งแต่ 10 ถึง 27 พฤศจิกายน ค.ศ. 2004. นับเป็นการแข่งขันฟุตบอลโลกหญิงอายุไม่เกิน 20 ปี ครั้งที่ 2, ก่อนจะมีการเปลี่ยนชื่อการแข่งขันอีกครั้งในปี ค.ศ. 2006. ซึ่งจัดขึ้นที่ราชอาณาจักรไทย, โดยสนามแข่งขันทั้ง 2 สนาม ในกรุงเทพมหานคร, และ ในต่างจังหวัดอีก 2 สนาม ในจังหวัด เชียงใหม่ และ ภูเก็ต. Brazil's Marta ได้รับรางวัลลูกฟุตบอลทองคำ ในฐานะผู้เล่นทรงคุณค่า, และ Brittany Timko ได้รับรางวัลรองเท้าทองคำ ในฐานะผู้ที่ทำประตูสูงสุดในการแข่งขันถึง 7 ประตูใน 4 นัดที่ลงแข่งขัน.

สนามแข่งขัน[แก้]

จังหวัด สนามแข่งขัน ความจุ
กรุงเทพมหานคร ราชมังคลากีฬาสถาน 65,000
กรุงเทพมหานคร กรีฑาสถานแห่งชาติ 35,000
เชียงใหม่ สนามกีฬาสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี 25,000
ภูเก็ต สนามกีฬาสุระกุล 15,000

รอบคัดเลือก[แก้]

The places have been allocated as follows to confederations: CAF (1), AFC (2), UEFA (4), CONCACAF (2), CONMEBOL (1), OFC (1), plus the host country (1).

ทวีป Confederation
Qualifying Tournament
ทีมที่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย
แอฟริกา CAF ธงชาติไนจีเรีย ไนจีเรีย
เอเชีย AFC ธงชาติจีน จีน
ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้
ยุโรป ยูฟ่า ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี
ธงชาติอิตาลี อิตาลี
ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย
ธงชาติสเปน สเปน
อเมริกาเหนือ, อเมริกากลาง และ แคริบเบียน คอนคาแคฟ ธงชาติแคนาดา แคนาดา
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ
โอเซียเนีย OFC ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
อเมริกาใต้ คอนเมบอล ธงชาติบราซิล บราซิล
ชาติเจ้าภาพ ธงชาติไทย ไทย

รอบแรก[แก้]

All times local (UTC+7)

กลุ่ม A[แก้]

Team Pts Pld W D L GF GA GD
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี 7 3 2 1 0 13 3 +10
ธงชาติแคนาดา แคนาดา 7 3 2 1 0 12 4 +8
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 3 3 1 0 2 6 6 0
ธงชาติไทย ไทย 0 3 0 0 3 0 18 −18
ไทย ธงชาติไทย0–6ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี
(Report) Goal 10' Mittag
Goal 12', Goal 41' Goessling
Goal 17', Goal 24' Okoyino Da Mbabi
Goal 43' Laudehr



แคนาดา ธงชาติแคนาดา7–0ธงชาติไทย ไทย
Dennis Goal 11'
Timko Goal 25', Goal 35', Goal 56'
Robinson Goal 33'
Maranda Goal 46'
Jamani Goal 54'
(Report)


กลุ่ม B[แก้]

Team Pts Pld W D L GF GA GD
ธงชาติบราซิล บราซิล 6 3 2 0 1 6 5 +1
ธงชาติจีน จีน 6 3 2 0 1 4 3 +1
ธงชาติไนจีเรีย ไนจีเรีย 4 3 1 1 1 4 4 0
ธงชาติอิตาลี อิตาลี 1 3 0 1 2 3 5 −2





กลุ่ม C[แก้]

Team Pts Pld W D L GF GA GD
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ 9 3 3 0 0 8 1 +7
ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย 3 3 1 0 2 5 7 −2
ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 3 3 1 0 2 3 5 −2
ธงชาติสเปน สเปน 3 3 1 0 2 3 6 −3
เกาหลีใต้ ธงชาติเกาหลีใต้0–3ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ
(Report) Goal 15' (pen) Woznuk
Goal 17' Rodriguez
Goal 72' Gray
ผู้ชม: 9,900
ผู้ตัดสิน: กรีซ Antonia Kokotou

รัสเซีย ธงชาติรัสเซีย4–1ธงชาติสเปน สเปน
Terekhova Goal 10'
Sochneva Goal 36'
Petrova Goal 76'
Gil Goal 88' (o.g.)
(Report) Goal 24' Zufía

สหรัฐ ธงชาติสหรัฐ4–1ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย
Woznuk Goal 2' (pen)
Rostedt Goal 25', Goal 60'
Rapinoe Goal 63'
(Report) Goal 46' Sochneva
ผู้ชม: 8,563
ผู้ตัดสิน: ญี่ปุ่น Mayumi Oiwa

สเปน ธงชาติสเปน2–1ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้
Boho Goal 19', Goal 57' (Report) Goal 72' Park E.
ผู้ชม: 13,563
ผู้ตัดสิน: แอฟริกาใต้ Deidre Mitchell

สหรัฐ ธงชาติสหรัฐ1–0ธงชาติสเปน สเปน
Rostedt Goal 44' (Report)
ผู้ชม: 9,652
ผู้ตัดสิน: เม็กซิโก Virginia Tovar

รอบสุดท้าย[แก้]

All times local (UTC+7)

รอบสุดท้าย[แก้]

รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
                   
21 พฤศจิกายน - เชียงใหม่        
 ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี (pso)  1 (5)
24 พฤศจิกายน - กรุงเทพมหานคร
 ธงชาติไนจีเรีย ไนจีเรีย  1 (4)  
 ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี  3
21 พฤศจิกายน - เชียงใหม่
   ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ  1  
 ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ  2
27 พฤศจิกายน - กรุงเทพมหานคร
 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย  0  
 ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี  2
21 พฤศจิกายน - กรุงเทพมหานคร
   ธงชาติจีน จีน  0
 ธงชาติบราซิล บราซิล (a.e.t)  2 (4)
24 พฤศจิกายน - กรุงเทพมหานคร
 ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย  2 (2)  
 ธงชาติบราซิล บราซิล  0 ชิงอันดับที่ 3
21 พฤศจิกายน - กรุงเทพมหานคร
   ธงชาติจีน จีน  2  
 ธงชาติแคนาดา แคนาดา  1  ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ  3
 ธงชาติจีน จีน  3    ธงชาติบราซิล บราซิล  0
27 พฤศจิกายน - กรุงเทพมหานคร

รอบก่อนรองชนะเลิศ[แก้]


บราซิล ธงชาติบราซิล2–2
4–2 (aet)
ธงชาติรัสเซีย รัสเซีย
Marta Goal 42'
Cristiane Goal 90+4'
Sandra Goal 114', Goal 117'
(Report) Goal 29' Tsybutovich
Goal 61' Tsidikova


แคนาดา ธงชาติแคนาดา1–3ธงชาติจีน จีน
Timko Goal 63' (Report) Goal 3' (pen), Goal 21' Zhang
Goal 65' Liu

รอบรองชนะเลิศ[แก้]


รอบชิงอันดับที่ 3[แก้]

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

ผลการแข่งขัน[แก้]

 ผู้ชนะการแข่งขันฟุตบอลโลกหญิงอายุไม่เกิน 20 ปี 2004 
ธงชาติเยอรมนี
เยอรมนี
สมัยที่ 1

รางวัลรายบุคคล[แก้]

รางวัลรองเท้าทองคำ รางวัลลูกฟุตบอลทองคำ รางวัลฟีฟ่าแฟร์เพลย์
แคนาดา Brittany Timko บราซิล Marta ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ

ทีมรวมดารานานาชาติ[แก้]

Goalkeepers Defenders Midfielders Forwards

รัสเซีย Elvira Todua
สหรัฐ Ashlyn Harris

จีน Wang Kun
ไนจีเรีย Akudo Sabi
รัสเซีย Elena Semenchenko
ไทย Supaphon Kaeobaen
สหรัฐ Becky Sauerbrunn

จีน Zhang Ying
บราซิล Marta
เยอรมนี Simone Laudehr
เยอรมนี Patricia Hanebeck
เกาหลีใต้ Lee Jang-Mi
รัสเซีย Svetlana Tsidikova
สหรัฐ Angie Woznuk

บราซิล Cristiane
แคนาดา Brittany Timko
สเปน Veronica Boquete
เยอรมนี Anja Mittag

ผู้ทำประตู[แก้]

7 ประตู
6 ประตู
3 ประตู
2 ประตู
1 ประตู
Own goals

การถ่ายทอดสด[แก้]

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

แม่แบบ:ฟุตบอลโลกอายุไม่เกิน 20 ปี