อักษรนันทินาครี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
นันทินาครี
𑧁𑧞𑦿𑧒𑧁𑧑𑦰𑧈𑧓
คำว่า "นันทินาครี" ในอักษรนันทินาครี
ชนิด
ช่วงยุค
ประมาณ คริสต์ศตวรรษที่ 8-19
ทิศทางLeft-to-right Edit this on Wikidata
ภาษาพูดภาษาสันสกฤตและกันนาดา
อักษรที่เกี่ยวข้อง
ระบบแม่
ระบบพี่น้อง
เทวนาครี, ไกถี, อักษรคุชราต, โมฑี
ISO 15924
ISO 15924Nand (311), ​Nandinagari
ยูนิโคด
ยูนิโคดแฝง
Nandinagari
ช่วงยูนิโคด
U+119A0–U+119FF
[a] ต้นกำเนิดเซมิติกของอักษรพราหมียังไม่เป็นที่ยอมรับในระดับสากล
 บทความนี้ประกอบด้วยสัญกรณ์การออกเสียงในสัทอักษรสากล (IPA) สำหรับคำแนะนำเบื้องต้นเกี่ยวกับสัญลักษณ์ IPA โปรดดู วิธีใช้:สัทอักษรสากล สำหรับความแตกต่างระหว่าง [ ], / / และ ⟨ ⟩ ดูที่ สัทอักษรสากล § วงเล็บเหลี่ยมและทับ
เอกสารตัวเขียนอักษรนันทินาครี

นันทินาครี เป็นอักษรพราหมีที่สืบมาจากอักษรนาครี ซึ่งปรากฏในคริสต์ศตวรรษที่ 7[1] มีการใช้อักษรนี้และอักษรรูปแบบต่าง ๆ จากอักษรนี้ในภูมิภาคที่ราบสูงเดกกันตอนกลางและอินเดียตอนใต้[1] และมีการค้นพบต้นฉบับภาษาสันสกฤตในอักษรนันทินาครีมากมาย แต่ยังไม่ได้ทับศัพท์[2][3] ต้นฉบับบางส่วนของมัธวาจารยา (Madhvacharya) แห่งสำนักทวายตา เวทัน (Dvaita Vedanta) ของศาสนาฮินดู เขียนด้วยอักษรนันทินาครี[4]

อักษรนี้เป็นอักษรพี่น้องของอักษรเทวนาครีที่พบในบริเวณอื่นของประเทศอินเดีย[5]

ศัพทมูล[แก้]

นาครี มาจากคำว่า नगर (nagara) หมายถึง นคร[6]

มีผู้พบจารึกอักษรนันทินาครีในสมัย Kakatiya ที่ Mahabubabad ห่างจากนันทินคร ไฮเดอราบาด 212 กิโลเมตร[7]

เทียบกับอักษรเทวนาครี[แก้]

อักษรนันทินาครีและเทวนาครีมีความคล้ายคลึงและใกล้ชิดมาก แต่ก็มีความแตกต่างอย่างเป็นระบบ อักษรนันทินาครีมีรูปสระมากกว่า และรูปพยัญชนะน้อยกว่าอักษรเทวนาครี[8]

ตารางอักษรนันทินาครี

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 George Cardona and Danesh Jain (2003), The Indo-Aryan Languages, Routledge, ISBN 978-0415772945, page 75
  2. Reinhold Grünendahl (2001), South Indian Scripts in Sanskrit Manuscripts and Prints, Otto Harrassowitz Verlag, ISBN 978-3447045049, pages xxii, 201-210
  3. P. Visalakshy (2003), The Fundamentals of Manuscriptology, Dravidian Linguistics Association, ISBN 978-8185691107, pages 55-62
  4. Friedrich Otto Schrader (1988), A descriptive catalogue of the Sanskrit manuscripts in the Adyar Library, Otto Harrassowitz Verlag
  5. Pandey, Anshuman. (2013). Preliminary Proposal to Encode Nandinagari in ISO/IEC 10646.
  6. "Sanskrit and Tamil Dictionaries". www.sanskrit-lexicon.uni-koeln.de. สืบค้นเมื่อ 2021-05-22.
  7. U. Sudhakar Reddy (Jun 12, 2018). "Kakatiya dynasty: Nandinagar script inscription from Kakatiya rule found in Mahabubabad | Hyderabad News - Times of India". The Times of India (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2021-05-22.
  8. Prathima, G. & Rao, G. K. (2011). A Survey of Nandinagari Manuscript Recognition System. International Journal of Science & Technology, 1(1), 30-36.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]