อักษรไบบายิน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก อักษรบายบายิน)
อักษรไบบายิน
ᜊᜌ᜔ᜊᜌᜒᜈ᜔
"ไบบายิน" เขียนใน อักษรไบบายิน (krus-kudlit)
ชนิด
ช่วงยุค
คริสต์ศตวรรษที่ 13 (หรือนานกว่านั้น)[1][2] – คริสต์ศตวรรษที่ 18 (ฟื้นฟูในปัจจุบัน)[3]
ทิศทางLeft-to-right Edit this on Wikidata
Print basis
ทิศทางการเขียน (ขึ้นอยู่กับรูปแบบ):
ซ้ายไปขวา บนลงล่าง
ล่างขึ้นบน ซ้ายไปขวา[ต้องการอ้างอิง]
บนลงล่าง ขวาไปซ้าย[ต้องการอ้างอิง]
ภาษาพูดตากาล็อก, ซัมบัล, อีโลกาโน, กาปัมปางัน, บีโคล, ปังกาซีนัน, กลุ่มภาษาวิซายัน[4]
อักษรที่เกี่ยวข้อง
ระบบแม่
ระบบลูก
• บูฮิด
• ฮานูโนโอ
• กูลีตัน
• ปาเลาอัน
• ตักบันวา
ระบบพี่น้อง
ในอินโดนีเซีย:
• บาหลี
• บาตัก
• ชวา
• ลนตารา
• มากาซาร์
• ซุนดา
• เรินจง
• เรอจัง
ISO 15924
ISO 15924Tglg (370), ​Tagalog (Baybayin, Alibata)
ยูนิโคด
ยูนิโคดแฝง
Tagalog
ช่วงยูนิโคด
U+1700–U+171F
 บทความนี้ประกอบด้วยสัญกรณ์การออกเสียงในสัทอักษรสากล (IPA) สำหรับคำแนะนำเบื้องต้นเกี่ยวกับสัญลักษณ์ IPA โปรดดู วิธีใช้:สัทอักษรสากล สำหรับความแตกต่างระหว่าง [ ], / / และ ⟨ ⟩ ดูที่ สัทอักษรสากล § วงเล็บเหลี่ยมและทับ

อักษรไบบายิน (ตากาล็อก: Baybayin, แม่แบบ:IPA-tl) เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษาตากาล็อกและภาษาอีโลกาโน ได้ต้นแบบมาจากอักษรกวิ คาดว่าเริ่มใช้เมื่อราว พ.ศ. 1900 และยังคงใช้อยู่เมื่อเป็นอาณานิคมของสเปน ไบบายิน แปลว่า การสะกด พยัญชนะมีพื้นเสียงเป็น อะ เมื่อมิชชันนารีเข้ามาเผยแผ่ศาสนา ได้เพิ่มเครื่องหมายกดเสียงสระ ในการแปลคัมภีร์ไบเบิลเป็นภาษาพื้นเมือง

ลักษณะ[แก้]

ดาบdhaแบบฟิลิปิโนที่มีอักษรไบบายิน
รูปแบบต่าง ๆ ของอักษรไบบายิน

อักษรไบบายินเป็นอักษรสระประกอบ ทำให้ต้องมีการผสมระหว่างพยัญชนะ-สระ แต่ละอักษรหรือ ตีติก[5] มักเขียนในรูปพื้นฐาน ประกอบด้วยพยัญชนะลงท้ายด้วยสระ "A" ถ้าจะเขียนพยัญชนะลงท้ายด้วยสระอื่น ๆ จะใช้สัญลักษณ์ที่เรียกว่า kudlít[5] ซึ่งตั้งข้างบน (เพื่อออกเสียง "E" หรือ "I") หรือล่างตัวอักษร (เพื่อออกเสียง "O" หรือ "U") ในการเขียนคำที่ขึ้นต้นด้วยสระ จะมีการใช้อักษรสามตัว แต่ละอันสำหรับเสียง A, E/I และ O/U

ตัวอักษร[แก้]

ตัวอย่างฐานอักษรที่เขียนด้วยมือ/ตกแต่ง
สระเดี่ยว พยัญชนะฐาน (ที่มีสระ a)
a
a
i/e
i/e
u/o
u/o
ka
ka
ga
ga
nga
nga
ta
ta
da
da/ra
na
na
pa
pa
ba
ba
ma
ma
ya
ya
la
la
wa
wa
sa
sa
ha
ha
ฐานอักษรที่มีพยัญชนะ-สระและรูปประสม virama ทั้งหมด
สระ
a
i
e
u
o
virama
Ba/Va
ba/va
bi/be
vi/ve
ᜊᜒ
bu/bo
vu/vo
ᜊᜓ
/b/
/v/
ᜊ᜕
ᜊ᜔
Ka
ka
ki
ke
ᜃᜒ
ku
ko
ᜃᜓᜓ

/k/
ᜃ᜕
ᜃ᜔
Da/Ra
da/ra
di/ri
de/re
ᜇᜒ
du/ru
do/ro
ᜇᜓ
/d/
/r/
ᜇ᜕
ᜇ᜔
Ga
ga
gi
ge
ᜄᜒ
gu
go
ᜄᜓ

/g/
ᜄ᜕
ᜄ᜔
Ha
ha
hi
he
ᜑᜒ
hu
ho
ᜑᜓ

/h/
ᜑ᜕
ᜑ᜔
La
la
li
le
ᜎᜒ
lu
lo
ᜎᜓ

/l/
ᜎ᜕
ᜎ᜔
Ma
ma
mi
me
ᜋᜒ
mu
mo
ᜋᜓ

/m/
ᜋ᜕
ᜋ᜔
Na
na
ni
ne
ᜈᜒ
nu
no
ᜈᜓ

/n/
ᜈ᜕
ᜈ᜔
Nga
nga
ngi
nge
ᜅᜒ
ngu
ngo
ᜅᜓ

/ŋ/
ᜅ᜕
ᜅ᜔
Pa/Fa
pa/fa
pi/pe
fi/fe
ᜉᜒ
pu/po
fu/fo
ᜉᜓ
/p/
/f/
ᜉ᜕
ᜉ᜔
Sa/Za
sa/za
si/se
zi/ze
ᜐᜒ
su/so
zu/zo
ᜐᜓ
/s/
/z/
ᜐ᜕
ᜐ᜔
Ta
ta
ti
te
ᜆᜒ
tu
to
ᜆᜓ

/t/
ᜆ᜕
ᜆ᜔
Wa
wa
wi
we
ᜏᜒ
wu
wo
ᜏᜓ

/w/
ᜏ᜕
ᜏ᜔
Ya
ya
yi
ye
ᜌᜒ
yu
yo
ᜌᜓ

/j/
ᜌ᜕
ᜌ᜔

ตัวอย่าง[แก้]

คำอธิษฐานขององค์พระผู้เป็นเจ้า (Ama Namin)[แก้]

อักษรไบบายิน อักษรละติน ภาษาอังกฤษ (1928 BCP)[6]
(ฉบับคาทอลิกฟิลิปปินส์ปัจจุบัน[7])
ภาษาไทย

ᜀᜋ ᜈᜋᜒᜈ᜔᜵ ᜐᜓᜋᜐᜎᜅᜒᜆ᜔ ᜃ᜵
ᜐᜋ᜔ᜊᜑᜒᜈ᜔ ᜀᜅ᜔ ᜅᜎᜈ᜔ ᜋᜓ᜶
ᜋᜉᜐᜀᜋᜒᜈ᜔ ᜀᜅ᜔ ᜃᜑᜇᜒᜀᜈ᜔ ᜋᜓ᜵
ᜐᜓᜈ᜔ᜇᜒᜈ᜔ ᜀᜅ᜔ ᜎᜓᜂᜊ᜔ ᜋᜓ᜵
ᜇᜒᜆᜓ ᜐ ᜎᜓᜉ᜵ ᜉᜇ ᜈᜅ᜔ ᜐ ᜎᜅᜒᜆ᜔᜶

ᜊᜒᜄ᜔ᜌᜈ᜔ ᜋᜓ ᜃᜋᜒ ᜅᜌᜓᜈ᜔ ᜈᜅ᜔ ᜀᜋᜒᜅ᜔ ᜃᜃᜈᜒᜈ᜔ ᜐ ᜀᜇᜏ᜔ ᜀᜇᜏ᜔᜵
ᜀᜆ᜔ ᜉᜆᜏᜇᜒᜈ᜔ ᜋᜓ ᜃᜋᜒ ᜐ ᜀᜋᜒᜅ᜔ ᜋᜅ ᜐᜎ᜵
ᜉᜇ ᜈᜅ᜔ ᜉᜄ᜔ᜉᜉᜆᜏᜇ᜔ ᜈᜋᜒᜈ᜔ ᜐ ᜋᜅ ᜈᜄ᜔ᜃᜃᜐᜎ ᜐ ᜀᜋᜒᜈ᜔᜶

ᜀᜆ᜔ ᜑᜓᜏᜄ᜔ ᜋᜓ ᜃᜋᜒᜅ᜔ ᜁᜉᜑᜒᜈ᜔ᜆᜓᜎᜓᜆ᜔ ᜐ ᜆᜓᜃ᜔ᜐᜓ᜵
ᜀᜆ᜔ ᜁᜀᜇ᜔ᜌ ᜋᜓ ᜃᜋᜒ ᜐ ᜋᜐᜋ᜶ ᜐᜒᜌ ᜈᜏ

Ama namin, sumasalangit ka,
Sambahín ang ngalan mo.
Mapasaamin ang kaharián mo,
Sundín ang loób mo,
Dito sa lupà, para nang sa langit.

Bigyán mo kamí ngayón ng aming kakanin sa arau-arau;
At patawarin mo kamí sa aming mga salà,
Para nang pagpapatawad namin sa mga nagkakasalà sa amin.

At huwág mo kamíng ipahintulot sa tuksó,
At iadyâ mo kamí sa masamâ. Siya nawâ.

Our Father who art in heaven,
Hallowed be Thy name.
Thy kingdom come,
Thy will be done,
On earth as it is in heaven.

Give us this day our daily bread;
And forgive us our trespasses,
As we forgive those who trespass against us.

And lead us not into temptation,
But deliver us from evil. Amen.

ข้าแต่พระบิดาของข้าพเจ้าทั้งหลาย พระองค์สถิตในสวรรค์
พระนามพระองค์จงเป็นที่สักการะ
พระอาณาจักรจงมาถึง
พระประสงค์จงสำเร็จ
ในแผ่นดินเหมือนในสวรรค์

โปรดประทานอาหารประจำวัน แก่ข้าพเจ้าทั้งหลายในวันนี้
โปรดประทานอภัยแก่ข้าพเจ้า
เหมือนข้าพเจ้าให้อภัยแก่ผู้อื่น

โปรดช่วยข้าพเจ้าไม่ให้แพ้การผจญ
แต่โปรดช่วยให้พ้นจากความชั่วร้ายเทอญ อาแมน

ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน[แก้]

อักษรไบบายิน อักษรละติน แปลไทย

ᜀᜅ᜔ ᜎᜑᜆ᜔ ᜈᜅ᜔ ᜆᜂ ᜀᜌ᜔ ᜁᜐᜒᜈᜒᜎᜅ᜔ ᜈ ᜋᜎᜌ
ᜀᜆ᜔ ᜉᜈ᜔ᜆᜌ᜔ᜉᜈ᜔ᜆᜌ᜔ ᜐ ᜃᜇᜅᜎᜈ᜔ ᜀᜆ᜔ ᜋᜅ ᜃᜇᜉᜆᜈ᜔᜶

ᜐᜒᜎ ᜀᜌ᜔ ᜉᜒᜈᜄ᜔ᜃᜎᜓᜂᜊᜈ᜔ ᜈᜅ᜔ ᜃᜆᜓᜏᜒᜇᜈ᜔ ᜀᜆ᜔ ᜊᜓᜇ᜔ᜑᜒ
ᜀᜆ᜔ ᜇᜉᜆ᜔ ᜋᜄ᜔ᜉᜎᜄᜌᜈ᜔ ᜀᜅ᜔ ᜁᜐᜆ᜔ ᜁᜐ ᜐ ᜇᜒᜏ ᜈᜅ᜔ ᜉᜄ᜔ᜃᜃᜉᜆᜒᜇᜈ᜔᜶

Ang lahát ng tao'y isinilang na malayà
at pantáy-pantáy sa karangalan at mga karapatán.

Sila'y pinagkalooban ng katuwiran at budhî
at dapat magpalagayan ang isá't isá sa diwà ng pagkákapatíran.

มนุษย์ทั้งปวงเกิดมามีอิสระ
และเสมอภาคกันในศักดิ์ศรี และสิทธิ

ต่างในตนมีเหตุผลและมโนธรรม
และควรปฏิบัติต่อกันด้วยจิตวิญญาณแห่งภราดรภาพ

ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนข้อที่ 1 เขียนด้วยอักษรไบบายินฟิลิปิโน

คำขวัญของประเทศฟิลิปปินส์[แก้]

อักษรไบบายิน อักษรละติน แปลไทย
ᜋᜃᜇᜒᜌᜓᜐ᜔᜵
ᜋᜃᜆᜂ᜵
ᜋᜃᜃᜎᜒᜃᜐᜈ᜔᜵ ᜀᜆ᜔
ᜋᜃᜊᜈ᜔ᜐ᜶
Maka-Diyós,
Maka-Tao,
Makakalikasan, at
Makabansâ.
เพื่อพระเป็นเจ้า,
เพื่อประชาชน,
เพื่อธรรมชาติ และ
เพื่อประเทศ
ᜁᜐᜅ᜔ ᜊᜈ᜔ᜐ᜵
ᜁᜐᜅ᜔ ᜇᜒᜏ᜶
Isáng Bansâ,
Isáng Diwà
หนึ่งประเทศ
หนึ่งจิตวิญญาณ

อ้างอิง[แก้]

  1. Borrinaga, Rolando O. (22 September 2010). "In Focus: The Mystery of the Ancient Inscription (An Article on the Calatagan Pot)". National Commission for Culture and the Arts. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-11-28. สืบค้นเมื่อ 24 June 2021.
  2. https://aboutphilippines.org/doc-pdf-ppt-etc/Linguistic_insights_into_the_history_of_Philippine_script.pdf เก็บถาวร 2021-09-18 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน [bare URL PDF]
  3. de Totanés, Sebastián (1745). Arte de la lenga tagalog. p. 3. No se trata de los caracteres tagalos, porque es ya raro el indio que los sabe leer, y rarisimo el que los sabe escribir. En los nuestros castellanos leen ya, y escriben todos.
  4. Morrow, Paul (7 April 2011). "Baybayin Styles & Their Sources". paulmorrow.ca. สืบค้นเมื่อ 25 April 2020.
  5. 5.0 5.1 Potet 2018, p. 95.
  6. "The 1928 Book of Common Prayer: Family Prayer". The Book of Common Prayer. สืบค้นเมื่อ 14 October 2016.
  7. "Part Four: Christian Prayer, Section Two: The Lord's Prayer "Our Father!"". Catechism of the Catholic Church. vatican.va. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 February 2020. สืบค้นเมื่อ 15 March 2020.

ผลงานอ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]