อักษรรูปลิ่มเปอร์เซียโบราณ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก อักษรเปอร์เซียโบราณ)
อักษรรูปลิ่มเปอร์เซียโบราณ
[[ไฟล์:
|300]]
ชุดตัวหนังสือพยางค์อักษรรูปลิ่มเปอร์เซียโบราณ (ซ้าย) และจารึกดีนา (ส่วนที่ 2, ขวา) ของดาไรอัสมหาราช (ป. 490 ปีก่อน ค.ศ.) ในอักษรที่พึ่งสร้างใหม่
ชนิดกึ่งชุดตัวหนังสือพยางค์
ภาษาพูดภาษาเปอร์เซียโบราณ
ช่วงยุค525 – 330 ปีก่อน ค.ศ.
ช่วงยูนิโคดU+103A0–U+103D5

Download "Behistun", a free Old Persian Cuneiform Unicode font, install and refresh the page.

If you don't use Firefox or Opera, see the attached page to configure your browser's encoding to Unicode.
ISO 15924Xpeo
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทศาสตร์สัทอักษรสากล หากไม่มีการสนับสนุนเร็นเดอร์ที่เหมาะสม คุณอาจเห็นเครื่องหมายคำถาม กล่อง หรือสัญลักษณ์อื่นแทนอักขระยูนิโค้ด

อักษรรูปลิ่มเปอร์เซียโบราณ เป็นอักษรรูปลิ่มกึ่งชุดตัวอักษรที่เคยใช้เป้นอักษรหลักสำหรับภาษาเปอร์เซียโบราณ ข้อความที่เขียนด้วยอักษรนี้พบในประเทศอิหร่าน (เปอร์เซเปอลิส, ซูซา, แฮเมดอน, เกาะฆอร์ก), อาร์มีเนีย, โรมาเนีย (เกรลา),[1][2][3] ตุรกี (ป้อมปราการวาน) และริมคลองสุเอซ[4] จารึกส่วนใหญ่มาจากสมัยดาไรอัสมหาราช เช่น จารึกดีนา กับจักรพรรดิเซิร์กซีสที่ 1 พระราชโอรส กษัตริย์ยุคหลังจนถึงจักรพรรดิอาร์ตาเซิร์กซีสที่ 3 ใช้ภาษาในรูปแบบใหม่กว่าที่จัดเป็น "ภาษาเปอร์เซียก่อนสมัยกลาง" (pre-Middle Persian)[4]

อ้างอิง[แก้]

  1. Kuhrt 2013, p. 197.
  2. Frye 1984, p. 103.
  3. Schmitt 2000, p. 53.
  4. 4.0 4.1 Kent, R. G.: "Old Persian: Grammar Texts Lexicon", page 6. American Oriental Society, 1950.
  • Windfuhr, Gernot L (1970). "Notes on the old Persian signs". Indo-Iranian Journal. 12 (2): 121–125. doi:10.1007/BF00163003. hdl:2027.42/42943. S2CID 161528694.
  • Daniels, Peter T; William Bright (1996). The World's Writing Systems. New York: Oxford University Press. pp. 134–137.
  • Kent, Roland G. (1950). Old Persian; grammar, texts, lexicon. New Haven: American Oriental Society.

ข้อมูล[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

ฟอนต์[แก้]

ข้อความ[แก้]

แม่แบบ:WikisourceWiki

รายละเอียด[แก้]