อักษรรูปลิ่มเปอร์เซียโบราณ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อักษรรูปลิ่มเปอร์เซียโบราณ
ชุดตัวหนังสือพยางค์อักษรรูปลิ่มเปอร์เซียโบราณ (ซ้าย) และจารึกดีนา (ส่วนที่ 2, ขวา) ของดาไรอัสมหาราช (ป. 490 ปีก่อน ค.ศ.) ในอักษรที่พึ่งสร้างใหม่
ชนิด
ช่วงยุค
525 – 330 ปีก่อน ค.ศ.
ทิศทางLeft-to-right Edit this on Wikidata
ภาษาพูดภาษาเปอร์เซียโบราณ
ISO 15924
ISO 15924Xpeo (030), ​Old Persian
ยูนิโคด
ยูนิโคดแฝง
Old Persian
ช่วงยูนิโคด
U+103A0–U+103D5

Download "Behistun", a free Old Persian Cuneiform Unicode font, install and refresh the page.

If you don't use Firefox or Opera, see the attached page to configure your browser's encoding to Unicode.
 บทความนี้ประกอบด้วยสัญกรณ์การออกเสียงในสัทอักษรสากล (IPA) สำหรับคำแนะนำเบื้องต้นเกี่ยวกับสัญลักษณ์ IPA โปรดดู วิธีใช้:สัทอักษรสากล สำหรับความแตกต่างระหว่าง [ ], / / และ ⟨ ⟩ ดูที่ สัทอักษรสากล § วงเล็บเหลี่ยมและทับ

อักษรรูปลิ่มเปอร์เซียโบราณ เป็นอักษรรูปลิ่มกึ่งชุดตัวอักษรที่เคยใช้เป้นอักษรหลักสำหรับภาษาเปอร์เซียโบราณ ข้อความที่เขียนด้วยอักษรนี้พบในประเทศอิหร่าน (เปอร์เซเปอลิส, ซูซา, แฮเมดอน, เกาะฆอร์ก), อาร์มีเนีย, โรมาเนีย (เกรลา),[1][2][3] ตุรกี (ป้อมปราการวาน) และริมคลองสุเอซ[4] จารึกส่วนใหญ่มาจากสมัยดาไรอัสมหาราช เช่น จารึกดีนา กับจักรพรรดิเซิร์กซีสที่ 1 พระราชโอรส กษัตริย์ยุคหลังจนถึงจักรพรรดิอาร์ตาเซิร์กซีสที่ 3 ใช้ภาษาในรูปแบบใหม่กว่าที่จัดเป็น "ภาษาเปอร์เซียก่อนสมัยกลาง" (pre-Middle Persian)[4]

อ้างอิง[แก้]

  1. Kuhrt 2013, p. 197.
  2. Frye 1984, p. 103.
  3. Schmitt 2000, p. 53.
  4. 4.0 4.1 Kent, R. G.: "Old Persian: Grammar Texts Lexicon", page 6. American Oriental Society, 1950.
  • Windfuhr, Gernot L (1970). "Notes on the old Persian signs". Indo-Iranian Journal. 12 (2): 121–125. doi:10.1007/BF00163003. hdl:2027.42/42943. S2CID 161528694.
  • Daniels, Peter T; William Bright (1996). The World's Writing Systems. New York: Oxford University Press. pp. 134–137.
  • Kent, Roland G. (1950). Old Persian; grammar, texts, lexicon. New Haven: American Oriental Society.

ข้อมูล[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

ฟอนต์[แก้]

ข้อความ[แก้]

แม่แบบ:WikisourceWiki

รายละเอียด[แก้]