เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2021 รอบแพ้คัดออก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2021 รอบแพ้คัดออก จะลงเล่นตั้งแต่วันที่ 13 กันยายน ถึง 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564.[1] ทั้งหมด 16 ทีมที่เข้าร่วมในรอบแพ้คัดออกที่จะตัดสินหาทีมแชมเปียนส์ของ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2021.[2]

ทีมที่เข้ารอบ[แก้]

ชนะเลิศของกลุ่มและรองชนะเลิศสามทีมใน รอบแบ่งกลุ่ม ได้ผ่านเข้าสู่รอบ 16 ทีมสุดท้าย, กับสองโซนตะวันตก (กลุ่ม เอ–อี) และโซนตะวันออก (กลุ่ม เอฟ–เจ) มีแปดทีมที่เข้ารอบ.

โซน กลุ่ม ชนะเลิศ รองชนะเลิศ
(สามทีมที่ดีที่สุด จากแต่ละโซน)
โซนตะวันตก เอ ทาจิกิสถาน อิสติคลอล ซาอุดีอาระเบีย อัลฮิลาล
บี สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ชาร์จาห์ อิหร่าน แทรกเตอร์
ซี อิหร่าน เอสเตกลาล
ดี ซาอุดีอาระเบีย อัลนัศร์
อี อิหร่าน เพร์สโพลีส สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัลวะห์ดา
โซนตะวันออก เอฟ เกาหลีใต้ อุลซันฮุนได ไทย บีจี ปทุม ยูไนเต็ด
จี ญี่ปุ่น นาโงยะ แกรมปัส เกาหลีใต้ โพฮัง สตีลเลอส์
เอช เกาหลีใต้ ช็อนบุกฮุนไดมอเตอส์
ไอ ญี่ปุ่น คาวาซากิ ฟรอนตาเล เกาหลีใต้ แทกู เอฟซี
เจ ญี่ปุ่น เซเรซโซ โอซากะ

รูปแบบ[แก้]

ในรอบแพ้คัดออก, 16 ทีมลงเล่นในทัวร์นาเมนต์ตกรอบเดียว, กับทีมที่ถูกแบ่งออกเป็นสองโซนจนกระทั่งถึงรอบชิงชนะเลิศ. แต่ละคู่จะลงเล่นในแมตช์เลกเดียวที่สนามเป็นกลาง (บทความข้อที่ 9.1).[3] แทนที่จะเป็นในบ้านและนอกบ้านตามปกติ. ต่อเวลาพิเศษ และ การดวลลูกโทษ เป็นวิธีการที่จะใช้ตัดสินหาทีมชนะเลิศถ้าในกรณีที่จำเป็น (บทความข้อที่ 9.3 และ 10.1).[2]

ตารางการแข่งขัน[แก้]

ตารางการแข่งขันของแต่ละรอบมีดังนี้.[1]

รอบ วันที่
รอบ 16 ทีมสุดท้าย 13–15 กันยายน ค.ศ. 2021
รอบก่อนรองชนะเลิศ 16–17 ตุลาคม ค.ศ. 2021
รอบรองชนะเลิศ 19–20 ตุลาคม ค.ศ. 2021
รอบชิงชนะเลิศ 23 พฤศจิกายน ค.ศ. 2021

สายการแข่งขัน[แก้]

สายการแข่งขันของรอบแพ้คัดออก ได้ถูกกำหนดดังนี้:

รอบ โซนตะวันตก โซนตะวันออก
รอบ 16 ทีมสุดท้าย

(Matchups decided by a series of combination which determined by the three best runner-ups who qualified)

(Matchups decided by a series of combination which determined by the three best runner-ups who qualified)

รอบก่อนรองชนะเลิศ (Matchups decided by draw, involving four round of 16 winners)
  • QF ตะวันตก 1
  • QF ตะวันตก 2
(Matchups decided by draw, involving four round of 16 winners)
  • QF ตะวันออก 1
  • QF ตะวันออก 2
รอบรองชนะเลิศ
  • SF ตะวันตก: ชนะเลิศของ QF ตะวันตก 1 vs. ชนะเลิศของ QF ตะวันตก 2
  • SF ตะวันออก: ชนะเลิศของ QF ตะวันออก 1 vs. ชนะเลิศของ QF ตะวันออก 2
รอบชิงชนะเลิศ
  • ชนะเลิศของ SF ตะวันตก vs. ชนะเลิศของ SF ตะวันออก


 
รอบ 16 ทีมสุดท้ายรอบก่อนรองชนะเลิศรอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
              
 
14 กันยายน – ชาร์จาห์
 
 
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ชาร์จาห์1 (4)
 
16 ตุลาคม – รียาด
 
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัลวะห์ดา
(ลูกโทษ)
1 (5)
 
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัลวะห์ดา1
 
14 กันยายน – โดฮา, กาตาร์
 
ซาอุดีอาระเบีย อัลนัศร์5
 
ซาอุดีอาระเบีย อัลนัศร์1
 
19 ตุลาคม – รียาด
 
อิหร่าน แทรกเตอร์0
 
ซาอุดีอาระเบีย อัลนัศร์1
 
14 กันยายน – ดูชันเบ
 
ซาอุดีอาระเบีย อัลฮิลาล2
 
ทาจิกิสถาน อิสติคลอล0
 
16 ตุลาคม – รียาด
 
อิหร่าน เพร์สโพลีส1
 
อิหร่าน เพร์สโพลีส0
 
13 กันยายน – ดูไบ, ยูเออี
 
ซาอุดีอาระเบีย อัลฮิลาล3
 
อิหร่าน เอสเตกลาล0
 
23 พฤศจิกายน – รียาด
 
ซาอุดีอาระเบีย อัลฮิลาล2
 
ซาอุดีอาระเบีย อัลฮิลาล2
 
15 กันยายน – ชอนจู
 
เกาหลีใต้ โพฮัง สตีลเลอส์0
 
เกาหลีใต้ ช็อนบุกฮุนไดมอเตอส์
(ลูกโทษ)
1 (4)
 
17 ตุลาคม – ชอนจู
 
ไทย บีจี ปทุม ยูไนเต็ด1 (2)
 
เกาหลีใต้ ช็อนบุกฮุนไดมอเตอส์2
 
14 กันยายน – อุลซัน
 
เกาหลีใต้ อุลซันฮุนได
(ต่อเวลา)
3
 
เกาหลีใต้ อุลซันฮุนได
(ลูกโทษ)
0 (3)
 
20 ตุลาคม – ชอนจู
 
ญี่ปุ่น คาวาซากิ ฟรอนตาเล0 (2)
 
เกาหลีใต้ อุลซันฮุนได1 (4)
 
15 กันยายน – โอซากะ
 
เกาหลีใต้ โพฮัง สตีลเลอส์
(ลูกโทษ)
1 (5)
 
ญี่ปุ่น เซเรซโซ โอซากะ0
 
17 ตุลาคม – ชอนจู
 
เกาหลีใต้ โพฮัง สตีลเลอส์1
 
เกาหลีใต้ โพฮัง สตีลเลอส์3
 
14 กันยายน – โทโยตะ
 
ญี่ปุ่น นาโงยะ แกรมปัส0
 
ญี่ปุ่น นาโงยะ แกรมปัส4
 
 
เกาหลีใต้ แทกู เอฟซี2
 

รอบ 16 ทีมสุดท้าย[แก้]

สรุปผลการแข่งขัน[แก้]

รอบ 16 ทีมสุดท้ายจะแข่งขันเพียงแค่เลคเดียว การจัดโปรแกรมการแข่งขันใช้การจับฉลากคู่แข่งขันร่วมกับการพิจารณารองแชมป์กลุ่มที่ดีที่สุด 3 ทีมผ่านเข้าสู่รอบนี้

ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
โซนตะวันตก
อิสติคลอล ทาจิกิสถาน 0–1 อิหร่าน เพร์สโพลีส
ชาร์จาห์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 1–1
(ต่อเวลา)

(ดวลลูกโทษ 4–5)
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัลวะห์ดา
เอสเตกลาล อิหร่าน 0–2 ซาอุดีอาระเบีย อัลฮิลาล
อัลนัศร์ ซาอุดีอาระเบีย 1–0 อิหร่าน แทรกเตอร์
ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
โซนตะวันออก
อุลซันฮุนได เกาหลีใต้ 0–0
(ต่อเวลา)

(ดวลลูกโทษ 3–2)
ญี่ปุ่น คาวาซากิ ฟรอนตาเล
นาโงยะ แกรมปัส ญี่ปุ่น 4–2 เกาหลีใต้ แทกู เอฟซี
ช็อนบุกฮุนไดมอเตอส์ เกาหลีใต้ 1–1
(ต่อเวลา)

(ดวลลูกโทษ 4–2)
ไทย บีจี ปทุม ยูไนเต็ด
เซเรซโซ โอซากะ ญี่ปุ่น 0–1 เกาหลีใต้ โพฮัง สตีลเลอส์

โซนตะวันตก[แก้]




โซนตะวันออก[แก้]




รอบก่อนรองชนะเลิศ[แก้]

สรุปผลการแข่งขัน[แก้]

รอบ 8 ทีมสุดท้ายจะลงเล่นแบบเลกเดียวรู้ผล, กับการกำหนดแมตช์ต่าง ๆ และทีมเหย้าตัดสินโดยการจับสลากที่จะจัดขึ้นในวันที่ 17 กันยายน ณ เวลา 15:00 (UTC+8) ในกรุงกัวลาลัมเปอร์, ประเทศมาเลเซีย.

ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
โซนตะวันตก
อัลวะห์ดา สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 1–5 ซาอุดีอาระเบีย อัลนัศร์
เพร์สโพลีส อิหร่าน 0–3 ซาอุดีอาระเบีย อัลฮิลาล
ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
โซนตะวันออก
ช็อนบุกฮุนไดมอเตอส์ เกาหลีใต้ 2–3
(ต่อเวลา)
เกาหลีใต้ อุลซันฮุนได
โพฮัง สตีลเลอส์ เกาหลีใต้ 3–0 ญี่ปุ่น นาโงยะ แกรมปัส

โซนตะวันตก[แก้]


โซนตะวันออก[แก้]


รอบรองชนะเลิศ[แก้]

สรุปผลการแข่งขัน[แก้]

รอบรองชนะเลิศจะลงเล่นเลกเดียว.

ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
โซนตะวันตก
อัลนัศร์ ซาอุดีอาระเบีย 1–2 ซาอุดีอาระเบีย อัลฮิลาล
ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
โซนตะวันออก
อุลซันฮุนได เกาหลีใต้ 1–1
(ต่อเวลา)

(ดวลลูกโทษ 4–5)
เกาหลีใต้ โพฮัง สตีลเลอส์

โซนตะวันตก[แก้]

โซนตะวันออก[แก้]

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

หมายเหตุ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 "AFC Competitions Calendar 2021". the-afc.com. Asian Football Confederation. 27 April 2021.
  2. 2.0 2.1 "2021 AFC Champions League Competition Regulations" (PDF). the-afc.com. Asian Football Confederation.
  3. "Latest update on the AFC Club Competitions in 2021 and 2022". AFC.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]