ไทยลีก 3 ฤดูกาล 2566–67 – โซนภาคใต้

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไทยลีก 3 โซนภาคใต้
ฤดูกาล2566–67
วันที่16 กันยายน 2566 – 25 กุมภาพันธ์ 2567
ทีมชนะเลิศสงขลา
ตกชั้นตรัง
รอบระดับประเทศสงขลา
พัทลุง
จำนวนนัด132
จำนวนประตู334 (2.53 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดนาตัน โอลีเวย์รา
(20 ประตู)
ทีมเหย้า
ชนะสูงสุด
6 ประตู
ปัตตานี 6–0 ระนอง ยูไนเต็ด
(1 ตุลาคม 2566)
ทีมเยือน
ชนะสูงสุด
8 ประตู
ระนอง ยูไนเต็ด 0–8 สงขลา
(28 ตุลาคม 2566)
จำนวนประตูสูงสุด8 ประตู
ระนอง ยูไนเต็ด 0–8 สงขลา
(28 ตุลาคม 2566)
ปัตตานี 4–4 นรา ยูไนเต็ด
(28 ตุลาคม 2566)
ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
6 นัด
ปัตตานี
สงขลา
ไม่แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
22 นัด
สงขลา
ไม่ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
11 นัด
ตรัง
แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
7 นัด
เอ็มเอช นครศรีฯ ซิตี้
จำนวนผู้ชมสูงสุด5,155 คน
ปัตตานี 0–2 สงขลา
(17 กุมภาพันธ์ 2567)
จำนวนผู้ชมต่ำสุด0 คน
จำนวนผู้ชมรวม126,933 คน
จำนวนผู้ชมเฉลี่ย1,007 คน
สถิติทั้งหมดปรับปรุงล่าสุดในวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2567

ไทยลีก 3 ฤดูกาล 2566–67 โซนภาคใต้ เป็นส่วนหนึ่งของการแข่งขันไทยลีก 3 ฤดูกาล 2566–67 ซึ่งเป็นการแข่งขันในระดับที่ 3 ในระบบลีกฟุตบอลไทย และเป็นการแข่งขันฤดูกาลที่ 7 ของไทยลีก 3 นับตั้งแต่ก่อตั้งลีกเมื่อ พ.ศ. 2560

สโมสร[แก้]

สโมสรที่เข้าแข่งขันในฤดูกาล 2566–67 โซนภาคใต้ มีจำนวน 12 สโมสร โดยแบ่งเป็นสโมสรจากฤดูกาล 2565–66 จำนวน 10 สโมสร สโมสรที่ตกชั้นจากไทยลีก 2 จำนวน 1 สโมสร และสโมสรที่เลื่อนชั้นจากไทยแลนด์ อเมเจอร์ลีก จำนวน 1 สโมสร

สนามเหย้า ที่ตั้ง และผลงานฤดูกาลที่แล้ว[แก้]

สโมสร ที่ตั้ง สนามเหย้า ความจุ อันดับฤดูกาล 2565–66
แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด ระนอง สนามกีฬากลางจังหวัดระนอง 7,000 17 (ไทยลีก 2)
ตรัง ตรัง
(เมืองตรัง)
สนามกีฬาเทศบาลนครตรัง 5,000 11
เมืองตรัง ยูไนเต็ด 7
นรา ยูไนเต็ด นราธิวาส สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดนราธิวาส 7,000 5
ปัตตานี ปัตตานี สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี 12,000 4
พัทลุง พัทลุง สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดพัทลุง 4,000 9
พีที สตูล สตูล สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูล 5,000 1 (ทีเอ)
ภูเก็ต อันดามัน ภูเก็ต สนามกีฬาสุระกุล 16,000 6
ยะลา ยะลา สนามกีฬามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 10
เวียงสระ สุราษฎร์ฯ ซิตี้ สุราษฎร์ธานี สนามกีฬามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี 8
สงขลา สงขลา สนามกีฬาติณสูลานนท์ 45,000 1
เอ็มเอช นครศรีฯ ซิตี้ นครศรีธรรมราช สนามกีฬามหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช 2

ข้อมูลสโมสร[แก้]

สโมสร หัวหน้าผู้ฝึกสอน กัปตันทีม ผู้ผลิตชุด
แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด ไทย ปริญญา จารุเหติ ไทย ทัศไนย์ คุ้มครอง ยูเรกา
ตรัง ไทย โรจน์ คงชูผล ไทย ศุภชัย สังฆบุญญา พีเอสเคสปอร์ต
นรา ยูไนเต็ด ไทย ลุกมาน อูเซ็ง ไทย สมนึก แก้วอาภรณ์ ไอแอม
ปัตตานี สวิตเซอร์แลนด์ ดามีอาน เบลล็อน ไทย นินูรุดดีน นิเดร์หะ ดูลาสปอร์ต
พัทลุง ไทย ธีรธาดา จำรัส ไทย ชัยวัฒน์ ฤทธิศักดิ์ โอไอเอ็น
พีที สตูล ไทย อดุลย์ หมื่นสมาน ไทย ไชยา นัครี คาเด็นซา
ภูเก็ต อันดามัน บราซิล ราชิญญู ไทย โสภณ พัฒกอ อินฟินิท
เมืองตรัง ยูไนเต็ด ไทย นิรุณตร์ อัศวภักดี ไทย อานนท์ ปานมีทอง
ยะลา ไทย มุนตาด บิลังโหลด ไทย อิสรุฟัน ดอรอแม เอ็มเอสสปอร์ต
เวียงสระ สุราษฎร์ฯ ซิตี้ ไทย อธิษฐาน คงทรัพย์ ไทย สราวุธ ชิตไทย พาซสปอร์ต
สงขลา ญี่ปุ่น ไดกิ ฮิกูชิ ไทย ชานุกร ศรีรักษ์ เอกทีเอทสปอร์ต
เอ็มเอช นครศรีฯ ซิตี้ ไทย มณฑล ณ นคร ไทย นิราศ บุหง่า คัปปา

ผู้เล่นต่างชาติ[แก้]

สำหรับการขึ้นทะเบียนผู้เล่นต่างชาติ กำหนดให้เป็นนักกีฬาฟุตบอลต่างชาติสัญชาติทั่วไปไม่เกิน 3 คน

Note :
Substituted off: ผู้เล่นที่ปล่อยตัวระหว่างตลาดซื้อขายนักเตะครั้งที่ 2
Substituted on: ผู้เล่นที่ลงทะเบียนระหว่างตลาดซื้อขายนักเตะครั้งที่ 2
↔: ผู้เล่นที่มีสองสัญชาติ
→: ผู้เล่นที่ออกจากสโมสรหลังจากลงทะเบียนในเลกแรกหรือเลกที่สอง
ผู้เล่นต่างชาติทั่วไป
ผู้เล่นต่างชาติ (เอเชีย)
ผู้เล่นต่างชาติ (อาเซียน)
ไม่มีการลงทะเบียนผู้เล่นต่างชาติ
สโมสร เลก ผู้เล่นรายที่ 1 ผู้เล่นรายที่ 2 ผู้เล่นรายที่ 3
แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด เลกที่ 1 อิตาลี เลโอ อันโตนีโอ อันโตนี Substituted off ญี่ปุ่น ยูโตะ โยชิจิมะ Substituted off
เลกที่ 2 โกตดิวัวร์ กามารา แชก อาบิบ Substituted on ฝรั่งเศส แอลีเย โลบูเอต Substituted on เกาหลีใต้ อี กี-พิน Substituted on
ตรัง เลกที่ 1 บราซิล ตีอากู บาร์รูเตรู Substituted off อียิปต์ มุรซี มุฮัมมัด Substituted off
เลกที่ 2 แอลจีเรีย อิลเยส เบชิริ Substituted on โมร็อกโก ซูฟัยเน เฮนดิ Substituted on เกาหลีใต้ ฮวัง ชัน-ว็อน Substituted on
นรา ยูไนเต็ด เลกที่ 1 อาร์เจนตินา ฆวน โอโดริซิโอ ญี่ปุ่น เรียวเฮ มาเอดะ
เลกที่ 2 ฝรั่งเศส อ็องโนร แฟร์ดีน็อง Substituted on
ปัตตานี เลกที่ 1 บราซิล เฟลีปี นูเนส บราซิล นาตัน โอลีเวย์รา แคเมอรูน ลียอแนล ฟร็องก์ ตูโก แอนโซลา
เลกที่ 2
พัทลุง เลกที่ 1 บราซิล ฌูนาตัน บือร์นาร์ดู บราซิล โอสวัลดู แนตู ลาว มิดสะดา สายใต้ฟ้า
เลกที่ 2
พีที สตูล เลกที่ 1 บราซิล โดกลัส เฟร์ไรรา เกาหลีใต้ ฮย็อน ซึง-ยุน Substituted off เกาหลีใต้ ช็อง จิน-ย็อง Substituted off
เลกที่ 2 ไนจีเรีย อาจายี โอเปเยมี โคเรเด Substituted on รัสเซีย เอริค ซาเอรโค Substituted on
ภูเก็ต อันดามัน เลกที่ 1 บราซิล แฌเฟร์ซง มาเตอัส บราซิล จีโอกู เปเรย์รา Substituted off อิรัก เซลวัน อัลญะเบริ Substituted off
เลกที่ 2 เกาหลีใต้ คิม ทา-ฮา Substituted on เกาหลีใต้ อุม ทา-บิน Substituted on
เมืองตรัง ยูไนเต็ด เลกที่ 1 สาธารณรัฐคองโก เทรซอร์ แฟ็งดี Substituted off เกาหลีใต้ ฮัน ยุน-ซู Substituted off เกาหลีใต้ ช็อง ฮย็อน-กู
เลกที่ 2 เบลเยียม ยอร์ดี วลูเกลส์ Substituted on อิหร่าน ฮามเซฮ์ ซะรี Substituted on
ยะลา เลกที่ 1 อียิปต์ อับเดละซิซ ซิโซ กินี บารี เลลูมา Substituted off อิหร่าน ซาเดห์ โมแฮมแมด Substituted off
เลกที่ 2 อียิปต์ มุฮัมมัด อับเดลฟัตตะฮ์ Substituted on
เวียงสระ สุราษฎร์ฯ ซิตี้ เลกที่ 1 บราซิล ฌูซีมาร์ ตีอากู ดา ซิลวา มาลี อาเรอมูว์ กาซิม
เลกที่ 2
สงขลา เลกที่ 1 บราซิล วิกตูร์ กาปีนัน ไนจีเรีย อีเคเน วิกเตอร์ อาซิเก ญี่ปุ่น เรโอน ไซโตะ Substituted off
เลกที่ 2 ไนจีเรีย ไมเคิล อลีอู Substituted on
เอ็มเอช นครศรีฯ ซิตี้ เลกที่ 1 เบลเยียม ยอร์ดี วลูเกลส์ Substituted off บราซิล เอดซง Substituted off ไนจีเรีย อีซอห์ โอมอกบา Substituted off
เลกที่ 2 โกตดิวัวร์ โกเน อาบูบาการ์ Substituted on

การเปลี่ยนแปลงที่ตั้ง และอัตลักษณ์[แก้]

  • แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด เปลี่ยนไปใช้สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนตำบลหาดส้มแป้น เป็นสนามเหย้าชั่วคราว เนื่องจากสนามกีฬากลางจังหวัดระนอง อยู่ในระหว่างการปรับปรุง
  • สตูล เปลี่ยนชื่อเป็นพีที สตูล
  • ยาลอ ซิตี้ เปลี่ยนชื่อเป็นยะลา และย้ายไปใช้สนามกีฬามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา แทนสนามกีฬามหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ วิทยาเขตยะลา
  • เอ็มเอช นครศรีฯ ซิตี้ ย้ายไปใช้สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครศรีธรรมราช (ร่อนพิบูลย์) แทนสนามกีฬามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ในเลกแรก และย้ายไปใช้สนามกีฬามหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ในเลกที่สอง
  • เวียงสระ สุราษฎร์ฯ ซิตี้ ย้ายไปใช้สนามกีฬามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี แทนสนามกีฬาเทศบาลตำบลบ้านส้อง ในเลกที่สอง

การเปลี่ยนแปลงผู้จัดการทีม[แก้]

สโมสร ผู้จัดการทีมที่ออก สาเหตุที่ออก วันที่ออก อันดับในตารางคะแนน ผู้จัดการทีมที่เข้าแทน วันที่เข้า
ตรัง ไทย อรรณพ ชัยแป้น แยกทาง มีนาคม 2566 ก่อนเริ่มฤดูกาล ไทย โรจน์ คงชูผล 7 สิงหาคม 2566[1]
นรา ยูไนเต็ด ไทย สุริยา ยายิ ปรับโครงสร้าง ไทย ซูดิรมาน เปาะจิ มิถุนายน 2566[2]
ปัตตานี ไทย ธีรธาดา จำรัส แยกทาง สวิตเซอร์แลนด์ ดามีอาน เบลล็อน 9 กรกฎาคม 2566[3]
พัทลุง ไทย วสันต์ สังขพันธ์ ไทย ธีรธาดา จำรัส 28 พฤษภาคม 2566[4]
เมืองตรัง ยูไนเต็ด ไทย พิสิษฐ์ ตรียาพงษ์ ไทย นิรุณตร์ อัศวภักดี 12 มิถุนายน 2566[5]
ยะลา ไทย นุรดิน อาสาบาโงย ไทย วิรัช แคยิหวา กรกฎาคม 2566
แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด ไทย ฟาซัล อุสมา พฤษภาคม 2566 ไทย ทิพยันต์ จันทร์แก้ว สิงหาคม 2566[6]
เอ็มเอช นครศรีฯ ซิตี้ ไทย อลงกรณ์ ทองอ่ำ ไทย มณฑล ณ นคร 17 สิงหาคม 2566[7]
สงขลา ไทย สระราวุฒิ ตรีพันธ์ 22 พฤษภาคม 2566 ญี่ปุ่น ไดกิ ฮิกูชิ 8 มิถุนายน 2566[8]
ภูเก็ต อันดามัน ไทย จารุพงศ์ สังข์พงษ์ 6 มิถุนายน 2566 บราซิล ราชิญญู 11 มิถุนายน 2566[9]
พีที สตูล ไทย เกียรติศักดิ์ วงเพี้ย 4 กรกฎาคม 2566 ไทย ฟาซัล อุสมา 6 กรกฎาคม 2566[10]
แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด ไทย ทิพยันต์ จันทร์แก้ว ลาออก 5 ตุลาคม 2566 อันดับที่ 12 ไทย ปริญญา จารุเหติ 14 ธันวาคม 2566[11]
นรา ยูไนเต็ด ไทย ซูดิรมาน เปาะจิ ปรับโครงสร้าง 5 พฤศจิกายน 2566 อันดับที่ 8 ไทย ลุกมาน อูเซ็ง 5 พฤศจิกายน 2566
พีที สตูล ไทย ฟาซัล อุสมา มกราคม 2567 อันดับที่ 4 ไทย อดุลย์ หมื่นสมาน มกราคม 2567
ยะลา ไทย วิรัช แคยิหวา แยกทาง อันดับที่ 10 ไทย มุนตาด บิลังโหลด

ตารางคะแนน[แก้]

อันดับ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบหรือการตกชั้น
1 สงขลา (C, Q) 22 17 5 0 46 7 +39 56 เข้าแข่งขันในรอบระดับประเทศ
2 พัทลุง (Q) 22 14 6 2 56 15 +41 48
3 ปัตตานี 22 13 4 5 45 24 +21 43
4 พีที สตูล 22 10 6 6 27 19 +8 36
5 เมืองตรัง ยูไนเต็ด 22 9 6 7 24 18 +6 33
6 เวียงสระ สุราษฎร์ฯ ซิตี้ 22 10 2 10 31 32 −1 32
7 นรา ยูไนเต็ด 22 9 4 9 25 25 0 31
8 ยะลา 22 5 8 9 14 20 −6 23
9 ภูเก็ต อันดามัน 22 6 3 13 23 35 −12 21
10 เอ็มเอช นครศรีฯ ซิตี้ 22 4 5 13 21 35 −14 17
11 แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด 22 3 6 13 14 46 −32 15
12 ตรัง (R) 22 3 3 16 8 58 −50 12 ตกชั้นสู่ไทยแลนด์ เซมิโปรลีก
แหล่งที่มา : ไทยลีก
กฎการจัดอันดับ : ก่อนสิ้นสุดฤดูกาล : 1.คะแนนรวม 2.ผลต่างประตูได้-เสีย 3.จำนวนประตูได้ 4.จำนวนนัดที่ชนะ
เมื่อสิ้นสุดฤดูกาลแล้ว: 1.คะแนนรวม 2.ผลการแข่งขันของทีมที่คะแนนเท่ากัน 3.ผลต่างประตูได้-เสียของทีมที่คะแนนเท่ากัน 4.จำนวนประตูได้ของทีมที่คะแนนเท่ากัน 5.ผลต่างประตูได้-เสียทั้งหมด 6.จำนวนประตูได้ทั้งหมด 7.คะแนนใบเหลือง-ใบแดง 8.เพลย์ออฟ[12]
(C) ชนะเลิศ; (Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ; (R) ตกชั้น.


อันดับตามสัปดาห์[แก้]

ตารางด้านล่างนี้จะแสดงอันดับบนตารางคะแนนในแต่ละสัปดาห์ เพื่อที่จะแสดงถึงพัฒนาการของแต่ละสโมสร การแข่งขันที่ถูกเลื่อนออกไปจะไม่แสดงในตาราง แต่จะถูกนับรวมกับการแข่งขันอีกนัดเมื่อได้มีการแข่งขันนั้นเกิดขึ้นใหม่ เช่น การแข่งขันนัดที่ 13 ถูกเลื่อนไประหว่างนัดที่ 16 และ 17 ผลตารางคะแนนจะถูกปรับปรุงในนัดที่ 16

ทีม / สัปดาห์12345678910111213141516171819202122
แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด12101210111111121111111111111111111111111111
ตรัง11121112101010111212121212121212121212121212
นรา ยูไนเต็ด5336656865556446755667
ปัตตานี3211111222222222223233
พัทลุง1122223333333333332322
พีที สตูล7864444444444557566554
ภูเก็ต อันดามัน10785568688101010109101099999
เมืองตรัง ยูไนเต็ด91110111212121099877775444445
ยะลา8998887910109998109888888
เวียงสระ สุราษฎร์ฯ ซิตี้2679999757665664677776
สงขลา4553332111111111111111
เอ็มเอช นครศรีฯ ซิตี้644777557678898891010101010
เข้ารอบแข่งขันในรอบระดับประเทศ
ตกชั้นสู่ไทยแลนด์ เซมิโปรลีก
อ้างอิง: ไทยลีก

ผลการแข่งขันที่ลงเล่น[แก้]

ทีม / สัปดาห์12345678910111213141516171819202122
แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ดLLLDDDLLWLLDDLLWLDLWLL
ตรังLLLLWDLLLLDLLLLLWLDWLL
นรา ยูไนเต็ดWWDLLDDLWWWDLWLLLWWLWL
ปัตตานีWWWWWWDLDWDWDWWWWLLWLL
พัทลุงWWDWWWDDDDDWWWWWLWWLWW
พีที สตูลDDWWLWDWLWDLDLLLWDWWWW
ภูเก็ต อันดามันLWDWLLLWLLLLLWWLDDLLLW
เมืองตรัง ยูไนเต็ดLLLLDDLWWDWWDLWWWWDDWL
ยะลาLLWDDLWLLDDLWWLDDDLDLW
เวียงสระ สุราษฎร์ฯ ซิตี้WLDLLLWWWLWWDLLWLLWLWW
สงขลาWDDWWWWWWDDWWWWDWWWWWW
เอ็มเอช นครศรีฯ ซิตี้DWDLDLWDLWLLDLWLLLLLLL
อ้างอิง: ไทยลีก
N = ไม่มีการแข่งขัน; W = ชนะ; D = เสมอ; L = แพ้

ผลการแข่งขัน[แก้]

เหย้า / เยือน RNU TRG NRU PTN PLG STN PKA MTG YLA WSC SKA MNS
แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด 3–0 1–2 0–0 1–5 1–0 0–0 1–3 0–0 1–2 0–8 1–0
ตรัง 2–2 1–0 1–6 0–6 0–0 0–4 0–3 0–1 1–6 0–4 1–4
นรา ยูไนเต็ด 1–1 2–0 0–1 0–0 3–0 2–1 0–0 1–0 0–1 0–1 2–1
ปัตตานี 6–0 3–0 4–4 2–2 3–1 2–0 0–1 2–0 4–0 0–2 2–0
พัทลุง 4–0 3–0 3–0 3–1 2–2 2–0 2–0 3–0 1–0 1–1 6–1
พีที สตูล 2–0 3–0 1–0 0–1 1–0 5–1 0–0 2–0 3–2 0–1 1–1
ภูเก็ต อันดามัน 4–1 0–1 0–1 2–0 0–5 0–1 0–1 1–1 2–0 2–2 1–0
เมืองตรัง ยูไนเต็ด 0–0 0–0 3–2 4–0 1–2 1–2 3–0 0–0 1–0 0–2 2–0
ยะลา 2–0 1–0 3–0 1–2 2–2 0–0 2–1 0–0 0–1 0–0 1–1
เวียงสระ สุราษฎร์ฯ ซิตี้ 2–1 3–0 0–2 2–3 0–2 2–0 3–1 3–1 1–0 0–2 1–1
สงขลา 2–0 4–0 2–0 1–1 2–1 1–1 2–0 1–0 1–0 4–0 2–1
เอ็มเอช นครศรีฯ ซิตี้ 1–0 0–1 1–3 0–2 1–1 0–2 1–3 3–0 2–0 2–2 0–1
ที่มา: ไทยลีก
สีฟ้าหมายถึงทีมเหย้าชนะ สีเหลืองหมายถึงเสมอกัน และสีแดงหมายถึงทีมเยือนชนะ

สถิติ[แก้]

ผู้ทำประตูสูงสุด[แก้]

ณ วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2567
อันดับที่ ผู้เล่น สโมสร ประตู
1 บราซิล นาตัน โอลีเวย์รา ปัตตานี 20
2 บราซิล ฌูนาตัน บือร์นาร์ดู พัทลุง 16
3 บราซิล โอสวัลดู แนตู พัทลุง 15
4 ไนจีเรีย อีเคเน วิกเตอร์ อาซิเก สงขลา 12
5 ไทย ณัฐวุฒิ เอี่ยมจันทร์ เวียงสระ สุราษฎร์ฯ ซิตี้ 10
6 บราซิล แฌเฟร์ซง มาเตอัส ภูเก็ต อันดามัน 9
7 ไทย อันวา อาลีมามะ สงขลา 8
บราซิล เอดซง เอ็มเอช นครศรีฯ ซิตี้ (8 ประตู)
9 บราซิล โดกลัส เฟร์ไรรา พีที สตูล 7
10 ไทย ธรรมยุต รักบุญ พัทลุง 6
ลาว มิดสะดา สายใต้ฟ้า พัทลุง
ไทย เดชา หวัดแท่น พัทลุง
ไทย สุทธิพงษ์ ใยฝ้าย เวียงสระ สุราษฎร์ฯ ซิตี้

แฮตทริก[แก้]

ผู้เล่น สโมสร พบกับ ผลการแข่งขัน วันที่
บราซิล นาตัน โอลีเวย์รา4 ปัตตานี แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด 6–0 (H) 1 ตุลาคม 2566
บราซิล นาตัน โอลีเวย์รา ปัตตานี ตรัง 1–6 (A) 8 ตุลาคม 2566
ไนจีเรีย อีเคเน วิกเตอร์ อาซิเก4 สงขลา แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด 0–8 (A) 28 ตุลาคม 2566
ไทย มันโซ อุสมัน นรา ยูไนเต็ด ปัตตานี 4–4 (A) 28 ตุลาคม 2566
บราซิล เอดซง เอ็มเอช นครศรีฯ ซิตี้ ตรัง 1–4 (A) 29 ตุลาคม 2566
บราซิล โดกลัส เฟร์ไรรา พีที สตูล ภูเก็ต อันดามัน 5–1 (H) 19 พฤศจิกายน 2566
บราซิล แฌเฟร์ซง มาเตอัส ภูเก็ต อันดามัน ตรัง 0–4 (A) 14 มกราคม 2567
ไทย เดชา หวัดแท่น พัทลุง เอ็มเอช นครศรีฯ ซิตี้ 6–1 (H) 3 กุมภาพันธ์ 2567
ไทย เจะฮานาฟี มามะ ยะลา นรา ยูไนเต็ด 3–0 (H) 25 กุมภาพันธ์ 2567

คลีนชีตส์[แก้]

ณ วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2567
อันดับที่ ผู้เล่น สโมสร คลีนชีตส์
1 ไทย จารุเดช หล๊ะหมูด สงขลา 15
2 ไทย วิชญะ แก่นทอง พัทลุง 10
ไทย ธีรพงศ์ พุทธสุขา เมืองตรัง ยูไนเต็ด
4 ไทย วุฒิชัย ปานบุตร พีที สตูล 9
ไทย ฟิรฮัน มะแซ ยะลา
6 ไทย ไซฟู มะยิ นรา ยูไนเต็ด (1) / แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด (4) 5
ไทย รีบูวัน อาเกะ นรา ยูไนเต็ด
ไทย เกษมสันต์ ชัยภักดี เวียงสระ สุราษฎร์ฯ ซิตี้
9 ไทย กตัญญู ทรงโต ตรัง 4
ไทย สุพัฒณ์ชัย เหล่าทอง ปัตตานี (4)
ไทย อนาวิล รอดถนน ภูเก็ต อันดามัน
12 ไทย ทักดนัย กลมเกลี้ยง ปัตตานี (3) 3
ไทย ชลสิทธิ์ ศูนย์ดํารงค์ เมืองตรัง ยูไนเต็ด
14 ไทย นราศักดิ์ มุสตาฟา แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด 2
ไทย นินูรุดดีน นิเดร์หะ ปัตตานี
ไทย เกียรติพล อุดม ปัตตานี (2)
ไทย อภินันต์ ปูหัด นรา ยูไนเต็ด (1) / พีที สตูล (1)
ไทย ธราเทพ โต๊ะมุสอ เอ็มเอช นครศรีฯ ซิตี้
19 ไทย ธนวัฒน์ วิเศษคามิน แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด (1) 1
ไทย มินทดา ปาละวัล ตรัง
ไทย พิทักพงศ์ จันทร์อ่วม พัทลุง
ไทย อิทธิกร การสร้าง ภูเก็ต อันดามัน (1)
ไทย มูฮัมหมัด มามะ ยะลา
ไทย ศรวัสย์ โพธิ์สมัน สงขลา
ไทย ชญานนท์ ไกรเมศ เอ็มเอช นครศรีฯ ซิตี้

ผู้ชม[แก้]

สถิติผู้ชมทั้งหมด[แก้]

อันดับ ทีม รวม สูงสุด ต่ำสุด เฉลี่ย เปลี่ยนแปลง
1 ปัตตานี 35,705 6,097 1,250 3,246 +87.7%
2 พีที สตูล 27,477 3,492 1,448 2,498 n/a
3 ยะลา 11,468 2,200 495 1,043 +91.4%
4 พัทลุง 11,159 2,000 600 1,014 +98.8%
5 นรา ยูไนเต็ด 9,852 3,200 202 896 +7.6%
6 เอ็มเอช นครศรีฯ ซิตี้ 7,351 2,450 0 735 −35.1%
7 เมืองตรัง ยูไนเต็ด 6,908 1,100 0 691 −11.6%
8 สงขลา 6,600 1,109 219 600 −8.7%
9 เวียงสระ สุราษฎร์ฯ ซิตี้ 3,759 600 0 376 +1.6%
10 แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด 2,050 300 0 256 −31.4%
11 ภูเก็ต อันดามัน 2,605 350 130 237 −40.0%
12 ตรัง 1,999 400 50 182 −51.2%
รวม 126,933 6,097 0 1,007 +49.2%

ปรับปรุงล่าสุดในนัดการแข่งขันเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2567
แหล่งข้อมูล: ไทยลีก
หมายเหตุ:'
สโมสรที่ตกชั้นจากไทยลีก 2 เมื่อฤดูกาลที่แล้ว
สโมสรที่เลื่อนชั้นจากไทยแลนด์ อเมเจอร์ลีก

จำนวนผู้ชมจากเกมเหย้า[แก้]

ทีม / สัปดาห์ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 รวม
แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด 200 300 Unk.2 200 300 300 Unk.3 200 300 250 Unk.6 2,050
ตรัง 257 104 250 102 400 186 50 300 100 200 50 1,999
นรา ยูไนเต็ด 800 1,000 1,100 850 800 500 600 500 3,200 300 202 9,852
ปัตตานี 1,250 2,200 3,000 5,155 3,500 1,500 5,120 2,500 2,533 2,850 6,097 35,705
พัทลุง 700 600 800 1,300 1,500 800 700 850 909 2,000 1,000 11,159
พีที สตูล 1,889 1,639 1,448 2,821 2,578 3,439 2,599 3,492 2,699 2,136 2,737 27,477
ภูเก็ต อันดามัน 189 326 169 200 300 130 227 267 350 210 237 2,605
เมืองตรัง ยูไนเต็ด 780 800 650 500 450 500 1,100 1,100 500 528 Unk.5 6,908
ยะลา 2,200 1,532 1,063 891 550 515 1,063 1,200 559 495 1,400 11,468
เวียงสระ สุราษฎร์ฯ ซิตี้ 500 550 Unk.1 150 200 400 254 127 600 459 519 3,759
สงขลา 745 800 990 257 459 1,109 565 467 321 668 219 6,600
เอ็มเอช นครศรีฯ ซิตี้ 2,450 1,050 875 825 211 550 250 500 320 Unk.4 320 7,351

แหล่งที่มา: ไทยลีก

หมายเหตุ:
Unk.1 ข้อผิดพลาดในการรายงานการแข่งขันเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2566 (เวียงสระ สุราษฎร์ฯ ซิตี้ 0–2 พัทลุง)
Unk.2 ข้อผิดพลาดในการรายงานการแข่งขันเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2566 (แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด 0–8 สงขลา)
Unk.3 ข้อผิดพลาดในการรายงานการแข่งขันเมื่อวันที่ 14 มกราคม 2567 (แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด 1–3 เมืองตรัง ยูไนเต็ด)
Unk.4 ข้อผิดพลาดในการรายงานการแข่งขันเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2567 (เอ็มเอช นครศรีฯ ซิตี้ 0–1 สงขลา)
Unk.5 ข้อผิดพลาดในการรายงานการแข่งขันเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2567 (เมืองตรัง ยูไนเต็ด 3–0 ภูเก็ต อันดามัน)
Unk.6 ข้อผิดพลาดในการรายงานการแข่งขันเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2567 (แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด 1–5 พัทลุง)

อ้างอิง[แก้]

  1. "OFFICIAL : พะยูนตั้ง อ.โรจน์ คุมใช้เด็กมกช.ตรัง ลุยหวังต้องอยู่รอด". supersubthailand.com. 7 August 2023. สืบค้นเมื่อ 6 October 2023.
  2. "ผนึกกำลัง! นรา เตรียมดัน สองพี่น้องเปาะจิ นำทัพคุมซีซั่นใหม่". supersubthailand.com. 19 June 2023. สืบค้นเมื่อ 6 October 2023.
  3. ""ปืนใหญ่ลังกาสุกะ" ดึงตัว "เบลลอง" กุมบังเหียนหวังบรรลุเป้าหมายใน T3". ballthai.com. 10 July 2023. สืบค้นเมื่อ 6 October 2023.
  4. "พัทลุง เดินเครื่อง ตั้ง โค้ชโอม นั่งกุนซือ". supersubthailand.com. 28 May 2023. สืบค้นเมื่อ 6 October 2023.
  5. "อาชาอันดามันตั้งโค้ชรุณคุมทัพลุย T3". supersubthailand.com. 12 June 2023. สืบค้นเมื่อ 6 October 2023.
  6. ""สจ.แดง" เผย "ฉลามอันดามัน" ตั้ง "โค้ชต้น" คุมทัพอีกคำรบ". ballthai.com. 11 August 2023. สืบค้นเมื่อ 6 October 2023.
  7. "เป็นทุกอย่างให้ทีมแล้ว! ประธานเอ็มเอช นครศรี ตั้งตัวเองคุมทัพลุยไทยลีก 3". goal.com. 17 August 2023. สืบค้นเมื่อ 6 October 2023.
  8. "ลมหวน! เงือกสมิหลาตั้งไดกิคุมคำรบสอง". supersubthailand.com. 8 June 2023. สืบค้นเมื่อ 6 October 2023.
  9. ""ล็อบสเตอร์" แต่งตั้ง "โค้ชเจมส์" นั่งกุนซือคนใหม่อย่างเป็นทางการ". ballthai.com. 11 June 2023. สืบค้นเมื่อ 6 October 2023.
  10. "หมอผีตั้งฟาซัลคุมทัพลุย TS รอบแชมป์ชนแชมป์". supersubthailand.com. 6 July 2023. สืบค้นเมื่อ 6 October 2023.
  11. ""ฉลามอันดามัน" แต่งตั้ง "โค้ชบอย" คุมทัพเลกสอง บู๊ศึก "T3" โซนใต้". ballthai.com. 14 December 2023. สืบค้นเมื่อ 15 December 2023.
  12. "ระเบียบข้อบังคับว่าด้วยการจัดการแข่งขันกีฬาฟุตบอลลีกอาชีพ รายการ ไทยลีก 3 พ.ศ. 2566/67" (PDF). fathailand.org. สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์.