รางวัลพิฆเนศวร

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

รางวัลพิฆเนศวร เป็นรางวัล จัดโดยสมัชชานักจัดรายการข่าววิทยุโทรทัศน์ หนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย เป็นรางวัลประทานจาก สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ซึ่งพิจารณาและตัดสินมอบให้กับนักจัดรายการ พิธีกร ผู้ประกาศข่าว และผู้ผลิตรายการทั้งจากสถานีโทรทัศน์ช่องต่างๆ สถานีโทรทัศน์ดาวเทียมอินเทอร์เน็ต ทีวีเน็ต รวมไปถึงเคเบิลท้องถิ่นทั่วประเทศ[1] จัดครั้งแรกในปี พ.ศ. 2555[2]

ลำดับงานประกาศผลรางวัล[แก้]

ครั้งและปีที่จัด วันที่ประกาศผล สถานที่ประกาศผลและมอบรางวัล
ครั้งที่ 1 (2555) วันที่ 30 สิงหาคม 2555 ศูนย์การประชุมรัชนีแจ่มจรัส สันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทย
ครั้งที่ 2 (2556) วันที่ 6 มิถุนายน 2556 ศูนย์ประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์
ครั้งที่ 3 (2557) วันที่ 31 กรกฎาคม 2557 ห้องคอนเวนชั่นฮอลล์ สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์
ครั้งที่ 4 (2558) วันที่ 27 มกราคม 2559 ศูนย์ประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์
ครั้งที่ 5 (2559) วันที่ 27 สิงหาคม 2560
ครั้งที่ 6 (2560) วันที่ 5 สิงหาคม 2561
ครั้งที่ 7 (2562) วันที่ 27 ตุลาคม 2562
ครั้งที่ 8 (2563) วันที่ 26 กันยายน 2563
ครั้งที่ 9 (2564) วันที่ 30 กันยายน 2564 งดจัดเนื่องจากสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
ครั้งที่ 10 (2565) วันที่ 29 พฤษภาคม 2565 โรงแรม อมารี ดอนเมือง แอร์พอร์ต กรุงเทพ
ครั้งที่ 11 (2566) วันที่ 9 เมษายน 2566 ห้องคอนเวนชั่นฮอลล์ ศูนย์ประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์
ครั้งที่ 12 (2567) วันที่ 26 พฤษภาคม 2567 สโมสรกรมประชาสัมพันธ์ พระราม 6 พญาไท กรุงเทพ

ผลรางวัล[แก้]

ในที่นี้ จะเป็นผลการตัดสินรางวัลทุกครั้งที่จัด

รางวัลประเภทละครโทรทัศน์ รชต (รางวัลแห่งความสำเร็จ) ประเภทดีเด่น (เฉพาะผู้แสดง)[แก้]

ครั้งและปีที่จัด นักแสดงนำชายดีเด่นแห่งปี นักแสดงนำหญิงดีเด่นแห่งปี นักแสดงสมทบชายดีเด่นแห่งปี นักแสดงสมทบหญิงดีเด่นแห่งปี
ครั้งที่ 1 (2555) อธิชาติ ชุมนานนท์
ขุนศึก (ช่อง 3)
พีชญา วัฒนามนตรี
หยกเลือดมังกร (ช่อง 7)
วรฤทธิ์ ไวยเจียรนัย
เล่ห์ร้อยรัก (ช่อง 3)
ชัชฎาภรณ์ ธนันทา
เกิดเป็นหงส์ (ช่อง 7)
ครั้งที่ 2 (2556) ภูภูมิ พงษ์ภาณุ
แรงเงา (ช่อง 3)
เจนี่ เทียนโพธิ์สุวรรณ
แรงเงา (ช่อง 3)
เคลลี่ ธนะพัฒน์
เสือสั่งฟ้า 2 (ช่อง 7)
ธัญญาเรศ เองตระกูล
แรงเงา (ช่อง 3)
ครั้งที่ 3 (2557) จิรายุ ตั้งศรีสุข
คุณชายพุฒิภัทร (ช่อง 3)
วรนุช ภิรมย์ภักดี
ทองเนื้อเก้า (ช่อง 3)
ชยพล บุนนาค
ลูกไม้หลากสี (ช่อง 7)
ณัฐชา นวลแจ่ม
สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย (ช่อง 7)
ครั้งที่ 4 (2558) ปกรณ์ ฉัตรบริรักษ์
ไฟล้างไฟ (ช่อง 3)
ภีรนีย์ คงไทย
ไฟล้างไฟ (ช่อง 3)
ชาตโยดม หิรัญยัษฐิติ
ซีรีส์ เลือดมังกร ตอน กระทิง (ช่อง 3)
ซอนญ่า สิงหะ
คือหัตถาครองพิภพ (ช่อง 7)
ครั้งที่ 5 (2559) ณัฐวุฒิ สะกิดใจ
นางทาส (ช่อง 3)
จีรนันท์ มะโนแจ่ม
เพลิงพระนาง (ช่อง 7)
เจษฎ์พิพัฒ ติละพรพัฒน์
พิษสวาท (ช่องวัน)
อริศรา วงษ์ชาลี
นาคี (ช่อง 3)
ครั้งที่ 6 (2560) ศิวัฒน์ โชติชัยชรินทร์
เล็บครุฑ (ภาพยนตร์) (ช่อง 7)
จีรนันท์ มะโนแจ่ม
เล็บครุฑ (ภาพยนตร์) (ช่อง 7)
อธิชาติ ชุมนานนท์
หนึ่งด้าวฟ้าเดียว (ช่อง3)
นักแสดงสมทบชายละครอิงประวัติศาสตร์ยอดเยี่ยมแห่งปี
ณัฐริกา ธรรมปรีดานันท์
หนึ่งด้าวฟ้าเดียว (ช่อง3)
นักแสดงสมทบหญิงละครอิงประวัติศาสตร์ยอดเยี่ยมแห่งปี
ครั้งที่ 7 (2562) นิดา พัชรวีระพงษ์
ใบไม้ที่ปลิดปลิว (ช่องวัน)
ครั้งที่ 8 (2563) วรพล จินตโกศล
เด็กเสเพล (ช่อง 7)
พัชญา เพียรเสมอ
กาเหว่า (ช่อง 7)
ถิร ชุติกุล
เด็กเสเพล (ช่อง 7)
ครั้งที่ 10 (2565) อนุวัฒน์ ชูเชิดรัตนา
เรือนร่มงิ้ว (ช่อง 8)
พรทิวา สาครจันทร์
สายเปล (ช่อง 7)
พงศภัทร กันคำ
มักกะลีที่รัก (ช่อง3)
ณัฐชา ชูมักเคอร์
ร่านดอกงิ้ว (ช่อง 8)
ครั้งที่ 11 (2566) วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์ ยมทูตกับภูตสาว (ช่อง3) อัศนัย เทศทะวงศ์ ขวางทางปืน ช่อง 7HD (ช่อง 7)
ครั้งที่ 12 (2567) ฐิติวัฒน์ ฤทธิ์ประเสริฐ

วิญญาณแพศยา (ช่อง 8)

ธัญญภัสร์ ภัทรธีรชัยเจริญ

รักท่วมทุ่ง (ช่อง3)

รางวัลประเภทละครโทรทัศน์ ประเภทยอดเยี่ยม (เฉพาะผู้แสดง)[แก้]

ครั้งและปีที่จัด นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม นักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม นักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม นักแสดงดาวรุ่งชายยอดเยี่ยม นักแสดงดาวร้ายยอดเยี่ยม นักแสดงเจ้าบทบาทชายยอดเยี่ยม นักแสดงเจ้าบทบาทหญิงยอดเยี่ยม ผู้กำกับละครยอดเยี่ยม ผู้กำกับละครแอ็คชั่นยอดเยี่ยม รางวัลละครยอดเยี่ยม ละครส่งเสริมครอบครัวยอดเยี่ยม ละครส่งเสริมวัฒนธรรมไทยยอดเยี่ยม
ครั้งที่ 4 (2558) จิรายุ ตั้งศรีสุข
หนึ่งในทรวง (ช่อง3)
ชาลิดา วิจิตรวงศ์ทอง
สองหัวใจนี้เพื่อเธอ (ช่อง 3)
อัษฎาวุธ เหลืองสุนทร
เพลิงตะวัน (ช่อง 7)
ครั้งที่ 5(2559) เจษฎาภรณ์ ผลดี
เพลิงนรี (ช่อง3)
ดาวิกา โฮร์เน่
เพลิงนรี (ช่อง 3)
ครั้งที่ 8(2563) ณัฐวุฒิ สกิดใจ
เล่ห์บรรพกาล (ช่อง3)
ใหม่ เจริญปุระ
กรงกรรม (ช่อง 3)
เจษฏ์พิพัฒ ติละพรพัฒน์
อุ้มรักเกมลวง (ช่องวัน)
สุภาพร วงษ์ถ้วยทอง
เล่ห์บรรพกาล
(ช่อง 3)
ครั้งที่ 9(2564) กฤษฎา สุภาพพร้อม
ทานตะวันสีเพลิง (ช่อง 7)
อิงฟ้า เกตุคำ
ทานตะวันสีเพลิง
(ช่อง 7)
ครั้งที่ 10 (2565) กองทัพ พีค
Dare To LOVE พิพากษา (ช่อง 3)
นักแสดงเจ้าบทบาทชายยอดเยี่ยม
ชาคริต แย้มนาม
วันทอง (ช่องวัน)
ปวีณสุดา ดรูอิ้น
เจ้าหญิงหลงยุค(9MCOTHD)
นักแสดงหญิงเจ้าบทบาทยอดเยี่ยม
ศิริลักษณ์ ผ่องโชค
บ่วงใบบุญ (ช่อง 8)
ครั้งที่ 11 (2566) ใหม่ เจริญปุระ

สาปซ่อนรัก (ช่อง3)

ธัชพล กู้วงศ์บัณฑิต

เลือดเจ้าพระยา (ช่อง3)

พิชชาภา พันธุมจินดา

สะใภ้สายสตรอง (ช่อง3)

ภาสวิชญ์ บูรณนัติ

สะใภ้สายสตรอง (ช่อง3)

อนุชิต สพันธุ์พงษ์

ลายกินรี (ช่อง3)

พรนภา เทพทินกร

หงส์ในกรงกา (ช่อง 7)

กิตติศักดิ์ ชีวาสัจจาสกุล

สาปซ่อนรัก (ช่อง3)

โอริเวอร์ บีเวอร์

ขวางทางปืน (ช่อง 7)

คือเธอ

(ช่อง3)

ครั้งที่ 12 (2567) อนันดา เอเวอริ่งแฮม

เกมรักทรยศ (ช่อง3)

แพทริเซีย กู๊ด

เกมรักทรยศ (ช่อง3)

วรินทร ปัญหกาญจน์ พรหมลิขิต

(ช่อง3)

แดนดาว ยมาภัย พรหมลิขิต

(ช่อง3)

อธิวัตน์ แสงเทียน พรหมลิขิต และ พี่จะตีนะเนย (ช่อง3) อินทัช เหลียวรักวงศ์ สองทระนง

(ช่อง 7)

สำรวย รักชาติ มนต์รักลูกทุ่ง๒๕๖๗ (ช่อง3) พรหมลิขิต

(ช่อง3)

มาตาลดา

(ช่อง3)

บุษบาลุยไฟ

ช่องไทยพีบีเอส

รางวัลประเภทละครโทรทัศน์ ประเภทละครดีเด่น[แก้]

ครั้ง(ปี)ที่จัด ละครดีเด่น ผู้กำกับละครดีเด่น กำกับละครแอ็คชั่นดีเด่น นักแสดงดาวรุ่งชายดีเด่น นักแสดงดาวรุ่งหญิงดีเด่น นักแสดงเจ้าบทบาทชายดีเด่น นักแสดงชายสมทบดีเด่น รางวัลนักแสดงแอ็คชั่นดีเด่น นักแสดงดาวร้ายหญิงดีเด่น
ครั้งที่ 1 (2555) รอยไหม
(ช่อง 3)
อุนวัฒน์ ถนอมรอด
เสือสั่งฟ้า (ช่อง 7)
กิตติวงศ์ โพธิ์ปี
ไชยเชษฐ์ (ช่อง 7)
ครั้งที่ 2 (2556) แรงเงา
(ช่อง 3)
มารุต สาโรวาท
ลมหวน (ช่อง 3)
ปรมะ อิ่มอโนทัย
ทองประกายแสด (ช่อง 8)
อัษฎาพร สิริวัฒน์ธนกุล
มายาสีมุก (ช่อง 7)
ครั้งที่ 3 (2557) ทองเนื้อเก้า
(ช่อง 3)
พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง
ทองเนื้อเก้า (ช่อง 3)
ยงศิลป์ วงศ์พนิตนนท์
ทองเนื้อเก้า (ช่อง 3)
อาภา ภาวิไล
แม่ค้า (ช่อง 7)
ครั้งที่ 4 (2558) ซีรีส์ เลือดมังกร
(ช่อง 3)
เมธี เจริญพงษ์
ไฟล้างไฟ (ช่อง 3)
จักริน ภูริพัฒน์
สุดแค้นแสนรัก (ช่อง 3)
เดียร์น่า ฟลีโป
ตามรักคืนใจ (ช่อง 3)
เซฟฟานี่ อาวะนิค
เพลิงตะวัน (ช่อง 7)(ประเภทยอดเยี่ยม)
ครั้งที่ 5 (2559) นาคี
(ช่อง 3)
พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง
นาคี (ช่อง 3)
ชีวานนท์ จำศรี
เหยี่ยวรัตติกาล (ช่อง 7)
หทัยชล ดูร์มาซ
ริษยา (ช่อง 7)
ครั้งที่ 11 (2566) ภูริพันธ์ ทรัพย์แสงสวัสดิ์

มงกุฎกรรม (ช่อง 8)

ณัฐพัชร พงษ์ประพันธ์

ตะนาวศรี (ช่อง 8)

วสุ แสงสิงแก้ว

เลือดเจ้าพระยา (ช่อง 3)

อัศนัย เทศทะวงศ์

ขวางทางปืน (ช่อง 7)

สุทธิ์คุณ วันทานุ

ดงพญาเย็น (ช่องONE31)

ณธษา เวชประสิทธิ์

หงส์ในกรงกา (ช่อง 7)

ครั้งที่ 12 (2567) พุฒิพงศ์ พรหมสาขา ณ สกลนคร เขยบ้านไร่ สะใภ้ไฮโซ (ช่อง 7) สพัฌ วิไชยเมธา

เพลิงไพร (ช่อง 7)

กิจจำนง จำนงกิจ สองทระนง

(ช่อง 7)

ดิสรยา เตชะไพบูลย์ สองทระนง

(ช่อง 7)

อัศนัย เทศทะวงศ์

แม่โขง (ช่อง 7)

รางวัลประเภทภาพยนต์ ประเภทยอดเยี่ยม[แก้]

ครั้งและปีที่จัด นักแสดงดาวรุ่งชายยอดเยี่ยม นักแสดงดาวรุ่งหญิงยอดเยี่ยม นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม นักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม นักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม ภาพยนตร์ไทยส่งเสริมวัฒนธรรมท้องถิ่นยอดเยี่ยม ผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม ภาพยนตร์ไทยยอดเยี่ยม แอ็คติ้งโค้ชดีเด่น
ครั้งที่12 (2567) ณัฐพล นิลดอนหวาย ภาพยนตร์ มนต์ดำสั่งตาย เดนิส เจลีลชา คัปปุน ภาพยนตร์ ธี่หยด   อุกฤษ วิลลีย์บรอด ดอน กาเบรียล (บิ๊ก D GERRARD) และ สุทธิรักษ์ ทรัพย์วิจิตร ภาพยนตร์ 4Kings2 รัตนวดี วงศ์ทอง ภาพยนตร์ ธี่หยด   สหัสชัย ชุมรุม ภาพยนตร์4Kings2 ทราย เจริญปุระ ภาพยนตร์ 4Kings2 รักได้แรงอก ก้องเกียรติ โขมศิริภาพยนตร์ ขุนพันธ์ 3 สัปเหร่อ สุธิรจน์ ศรีเพ็ชร ภาพยนตร์สะพานรักสารสิน และ ภาพยนตร์รักได้แรงอก

อ้างอิง[แก้]