อักษรสิเลฏินาครี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อักษรสิเลฏินาครี
ꠍꠤꠟꠐꠤ ꠘꠣꠉꠞꠤ
สิเลฏินาครี ในอักษรสิเลฏินาครี
ชนิด
ทิศทางLeft-to-right Edit this on Wikidata
ภูมิภาคGreater Sylhet
Barak Valley
Greater Mymensingh
Greater Noakhali
ภาษาพูดภาษาเบงกอลกลาง, ภาษาสิเลฏิ, Noakhailla
อักษรที่เกี่ยวข้อง
ระบบแม่
ISO 15924
ISO 15924Sylo (316), ​Syloti Nagri
ยูนิโคด
ยูนิโคดแฝง
Syloti Nagri
ช่วงยูนิโคด
U+A800-U+A82F
 บทความนี้ประกอบด้วยสัญกรณ์การออกเสียงในสัทอักษรสากล (IPA) สำหรับคำแนะนำเบื้องต้นเกี่ยวกับสัญลักษณ์ IPA โปรดดู วิธีใช้:สัทอักษรสากล สำหรับความแตกต่างระหว่าง [ ], / / และ ⟨ ⟩ ดูที่ สัทอักษรสากล § วงเล็บเหลี่ยมและทับ

อักษรสิเลฏินาครี ใกล้เคียงกับอักษรไกถีของรัฐพิหาร จุดกำเนิดยังไม่แน่ชัด เริ่มพบครั้งแรกเมื่อราว พ.ศ. 2092 – 2317 เชื่อกันว่าสร้างขึ้นโดยนักบุญ ชาจาลันและคณะที่พูดภาษาอาหรับ เพื่อใช้เขียนภาษาสิเลฏี เมื่อประมาณ พ.ศ. 2200 ภาษาเปอร์เซียกลายเป็นภาษาราชการในรัฐที่ปกครองด้วยสุลต่าน และมีการนำอักษรอาหรับดัดแปลงมาใช้ อักษรนี้จึงใช้ในชีวิตประจำวันเท่านั้น

พ.ศ. 2403 ชาวสิลเหติชื่อ มวลวี อับดุลการิม ผู้เรียนทางด้านธุรกิจการพิมพ์ในยุโรปหลายปี ได้คิดค้นแม่พิมพ์ไม้เพื่อพิมพ์ภาษาสิเลฏีด้วยอักษรนี้ เขาจัดตั้งสำนักพิมพ์อิสลามขึ้น การพิมพ์เริ่มเมื่อ พ.ศ. 2413 สิ้นสุดเมื่อ พ.ศ. 2513 อักษรนี้เขียนจากซ้ายไปขวาแต่หนังสือที่พิมพ์ด้วยอักษรนี้จะเรียงหน้าจากขวาไปซ้าย ทำให้ปกแรกของหนังสือในภาษานี้ตรงกับปกหลังของหนังสืออื่น

ใช้เขียน[แก้]

ยูนิโคด[แก้]

สิเลฏินาครี
Unicode.org chart (PDF)
  0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F
U+A80x
U+A81x
U+A82x        


อ้างอิง[แก้]